การศึกษาทัศนคติของนักศึกษาเกี่ยวกับการแต่งเครื่องแบบนักศึกษา วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล
การแต่งกายเครื่องแบบนักศึกษาหญิงและชายในมหาวิทยาลัย ตามระเบียบของมหาวิทยาลัยที่ถูกกำหนดขึ้น เพื่อเป็นเอกลักษณ์ของแต่ละมหาวิทยาลัย เป็ นการสร้างวินัยและความรับผิดชอบให้กับนักศึกษา สร้างความรู้สึกที่ดี มีความภาคภูมิใจในมหาวิทยาลัย แต่เนื่องจากปัจจุบันการแต่งกายเครื่องแบบของนักศึกษาส่วนใหญ่มีการเปลี่ยน...
Saved in:
Main Authors: | , , , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Article |
Language: | Thai |
Published: |
2018
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/19942 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | Thai |
id |
th-mahidol.19942 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-mahidol.199422023-03-30T20:30:53Z การศึกษาทัศนคติของนักศึกษาเกี่ยวกับการแต่งเครื่องแบบนักศึกษา วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล The Attitudes of Mahidol University International College Students toward the Wearing of Uniforms ศศิธร โรจน์สงคราม Sasithorn Rojsongkram อุบลวรรณ สงกรานตานนท์ Ubonwan Songkrantanon มหาวิทยาลัยมหิดล. วิทยาลัยนานาชาติ เครื่องแบบนักศึกษา วารสาร Mahidol R2R e-Journal Mahidol R2R e-journal การแต่งกายเครื่องแบบนักศึกษาหญิงและชายในมหาวิทยาลัย ตามระเบียบของมหาวิทยาลัยที่ถูกกำหนดขึ้น เพื่อเป็นเอกลักษณ์ของแต่ละมหาวิทยาลัย เป็ นการสร้างวินัยและความรับผิดชอบให้กับนักศึกษา สร้างความรู้สึกที่ดี มีความภาคภูมิใจในมหาวิทยาลัย แต่เนื่องจากปัจจุบันการแต่งกายเครื่องแบบของนักศึกษาส่วนใหญ่มีการเปลี่ยนแปลงตามกระแสนิยมในเรื่องการแต่งกายที่ไม่เหมาะสมล่อแหลม เช่น ใส่เสื้อรัดรูป นุ่งกระโปรงสั้นนุ่งกางเกงยีนส์ ปล่อยชายเสื้อออกนอกกระโปรง/กางเกง และสวมรองเท้าแตะ การแต่งกายที่ไม่เหมาะสมเหล่านี้จึงกลายเป็นสิ่งที่สังคมวิตกกังวลการสำรวจทัศนคติของนักศึกษาเกี่ยวกับการแต่งเครื่องแบบนักศึกษา วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล ครั้งนี้เพื่อศึกษาทัศนคติ ปัจจัย และพฤติกรรมของนักศึกษาเกี่ยวกับการแต่งกายเครื่องแบบนักศึกษา เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ โดยกลุ่มประชากรทที่ใช้ในการวิจัยคือ นักศึกษาวิทยาลัยนานาชาติ ชั้นปีที่ 1-4 โดยคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างจำนวน 462 คน ในการวิเคราะห์ผลของงานวิจัยนี้ผู้วิจัยได้เลือกทำการทดสอบ t-test และการทดสอบความแปรปรวนทางเดียว (One way Analysis of Variance) เพื่อศึกษาทัศนคติของนักศึกษา และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยต่างๆ และทัศนคติในการแต่งกายของนักศึกษาวิทยาลัยนานาชาติ จากผลการสำรวจความคิดเห็นของนักศึกษาวิทยาลัยนานาชาติ นักศึกษาส่วนใหญ่เห็นว่าอาจารย์เป็น ปัจจัยแรกที่มีส่วนทำให้นักศึกษาแต่งกายถูกระเบียบมากที่สุด รองลงมาคือด้านครอบครัว ด้านการประชาสัมพันธ์ด้านกลุ่มเพื่อน และด้านตัวนักศึกษา ตามลำดับ ในส่วนความคิดเห็นในการแต่งกายของนักศึกษากับปัจจัยส่วนบุคคลของนักศึกษา พบว่าด้าน อายุ, ชั้นปี, หลักสูตร และสถานที่พักอาศัย ที่แตกต่างกัน มีความสัมพันธ์ต่อทัศนคติด้านการแต่งกายของนักศึกษาที่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนด้านเพศ, ค่าใช้จ่าย และผลการเรียนที่แตกต่างกัน มีความสัมพันธ์ต่อทัศนคติด้านการแต่งกายของนักศึกษาที่ไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 The purpose of wearing Uniforms regarding the university regulation is to cultivate discipline and responsibility for students and to be proud as Mahidol university students. However, students nowadays tend to wear inappropriate uniforms. They tend to wear shirts without tucking in shirttails, short skirts, jeans, and sandals.The study of the attitude of Mahidol University International College students toward wearing uniforms is aimed to study the attitudes, the factors and the behavior of Mahidol University International College students in wearing uniforms. The study was a survey research which targeted students from all classes: freshmen, sophomores, juniors, and seniors. The stratified random sampling technique was used to sample 462 students. The questionnaire was the tool used to collect the data. Data was analyzed through frequency distribution, percentage, mean, standard deviation, t-test, one way analysis of variance. The results indicated that lecturers were the main factor, which influenced the students to wear proper uniform, followed by family, the college campaign, friends and their own motivation respectively. Furthermore, it was found that the differences in age, year of enrollment, major, and accommodation, significantly affected the attitudes of the students toward wearing uniforms (p<0.5). On the other hand, gender, monthly expense and grade point average (GPA) differences did not have an impact on the attitudes of the students toward wearing uniforms. 2018-07-13T07:14:33Z 2018-07-13T07:14:33Z 2561-07-13 2557 Article วารสาร Mahidol R2R e-Journal. ปีที่ 1, ฉบับที่ 1(ม.ค.-มิ.ย. 2557), 47-54 2392-5515 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/19942 tha มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf |
institution |
Mahidol University |
building |
Mahidol University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Mahidol University Library |
collection |
Mahidol University Institutional Repository |
language |
Thai |
topic |
เครื่องแบบนักศึกษา วารสาร Mahidol R2R e-Journal Mahidol R2R e-journal |
spellingShingle |
เครื่องแบบนักศึกษา วารสาร Mahidol R2R e-Journal Mahidol R2R e-journal ศศิธร โรจน์สงคราม Sasithorn Rojsongkram อุบลวรรณ สงกรานตานนท์ Ubonwan Songkrantanon การศึกษาทัศนคติของนักศึกษาเกี่ยวกับการแต่งเครื่องแบบนักศึกษา วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล |
description |
การแต่งกายเครื่องแบบนักศึกษาหญิงและชายในมหาวิทยาลัย ตามระเบียบของมหาวิทยาลัยที่ถูกกำหนดขึ้น เพื่อเป็นเอกลักษณ์ของแต่ละมหาวิทยาลัย เป็ นการสร้างวินัยและความรับผิดชอบให้กับนักศึกษา สร้างความรู้สึกที่ดี มีความภาคภูมิใจในมหาวิทยาลัย แต่เนื่องจากปัจจุบันการแต่งกายเครื่องแบบของนักศึกษาส่วนใหญ่มีการเปลี่ยนแปลงตามกระแสนิยมในเรื่องการแต่งกายที่ไม่เหมาะสมล่อแหลม เช่น ใส่เสื้อรัดรูป นุ่งกระโปรงสั้นนุ่งกางเกงยีนส์ ปล่อยชายเสื้อออกนอกกระโปรง/กางเกง และสวมรองเท้าแตะ การแต่งกายที่ไม่เหมาะสมเหล่านี้จึงกลายเป็นสิ่งที่สังคมวิตกกังวลการสำรวจทัศนคติของนักศึกษาเกี่ยวกับการแต่งเครื่องแบบนักศึกษา วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล ครั้งนี้เพื่อศึกษาทัศนคติ ปัจจัย และพฤติกรรมของนักศึกษาเกี่ยวกับการแต่งกายเครื่องแบบนักศึกษา เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ โดยกลุ่มประชากรทที่ใช้ในการวิจัยคือ นักศึกษาวิทยาลัยนานาชาติ ชั้นปีที่ 1-4 โดยคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างจำนวน 462 คน ในการวิเคราะห์ผลของงานวิจัยนี้ผู้วิจัยได้เลือกทำการทดสอบ t-test และการทดสอบความแปรปรวนทางเดียว (One way Analysis of Variance) เพื่อศึกษาทัศนคติของนักศึกษา และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยต่างๆ และทัศนคติในการแต่งกายของนักศึกษาวิทยาลัยนานาชาติ จากผลการสำรวจความคิดเห็นของนักศึกษาวิทยาลัยนานาชาติ นักศึกษาส่วนใหญ่เห็นว่าอาจารย์เป็น
ปัจจัยแรกที่มีส่วนทำให้นักศึกษาแต่งกายถูกระเบียบมากที่สุด รองลงมาคือด้านครอบครัว ด้านการประชาสัมพันธ์ด้านกลุ่มเพื่อน และด้านตัวนักศึกษา ตามลำดับ ในส่วนความคิดเห็นในการแต่งกายของนักศึกษากับปัจจัยส่วนบุคคลของนักศึกษา พบว่าด้าน อายุ, ชั้นปี, หลักสูตร และสถานที่พักอาศัย ที่แตกต่างกัน มีความสัมพันธ์ต่อทัศนคติด้านการแต่งกายของนักศึกษาที่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนด้านเพศ, ค่าใช้จ่าย และผลการเรียนที่แตกต่างกัน มีความสัมพันธ์ต่อทัศนคติด้านการแต่งกายของนักศึกษาที่ไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 |
author2 |
มหาวิทยาลัยมหิดล. วิทยาลัยนานาชาติ |
author_facet |
มหาวิทยาลัยมหิดล. วิทยาลัยนานาชาติ ศศิธร โรจน์สงคราม Sasithorn Rojsongkram อุบลวรรณ สงกรานตานนท์ Ubonwan Songkrantanon |
format |
Article |
author |
ศศิธร โรจน์สงคราม Sasithorn Rojsongkram อุบลวรรณ สงกรานตานนท์ Ubonwan Songkrantanon |
author_sort |
ศศิธร โรจน์สงคราม |
title |
การศึกษาทัศนคติของนักศึกษาเกี่ยวกับการแต่งเครื่องแบบนักศึกษา วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล |
title_short |
การศึกษาทัศนคติของนักศึกษาเกี่ยวกับการแต่งเครื่องแบบนักศึกษา วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล |
title_full |
การศึกษาทัศนคติของนักศึกษาเกี่ยวกับการแต่งเครื่องแบบนักศึกษา วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล |
title_fullStr |
การศึกษาทัศนคติของนักศึกษาเกี่ยวกับการแต่งเครื่องแบบนักศึกษา วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล |
title_full_unstemmed |
การศึกษาทัศนคติของนักศึกษาเกี่ยวกับการแต่งเครื่องแบบนักศึกษา วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล |
title_sort |
การศึกษาทัศนคติของนักศึกษาเกี่ยวกับการแต่งเครื่องแบบนักศึกษา วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล |
publishDate |
2018 |
url |
https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/19942 |
_version_ |
1763493137175543808 |