การรับรู้ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรมและความตั้งใจในการเลิกสูบบุหรี่ของนักเรียนอาชีวะ ที่ติดนิโคตินและไม่ติดนิโคติน

วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรมการเลิกสูบบุหรี่โดยทางตรง ทางอ้อมและความตั้งใจในการเลิกสูบบุหรี่ และเปรียบเทียบความเชื่อในการควบคุมและการรับรู้พลังอำนาจของปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการควบคุม พฤติกรรมการเลิกสูบบุหรี่ในระหว่าง 6 เดือนข้างหน้า ในนักเรียนอาชี...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: รัชฏาภรณ์ อึ้งเจริญ, อัจฉราพร สี่หิรัญวงศ์, รณชัย คงสกนธ์, ดุสิต สุจิรารัตน์
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์.
Format: Article
Language:Thai
Published: 2017
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/2028
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.2028
record_format dspace
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic วัยรุ่น
Adolescent
การเลิกสูบบุหรี่
Quitting smoking
ความตั้งใจในการเลิกสูบบุหรี่
Intention to quit smoking
การติดนิโคติน
Nicotine addiction
การรับรู้ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรม
Perceived behavioral control
Open Access article
วารสารสาธารณสุขและการพัฒนา
Journal of Public Health and Development
spellingShingle วัยรุ่น
Adolescent
การเลิกสูบบุหรี่
Quitting smoking
ความตั้งใจในการเลิกสูบบุหรี่
Intention to quit smoking
การติดนิโคติน
Nicotine addiction
การรับรู้ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรม
Perceived behavioral control
Open Access article
วารสารสาธารณสุขและการพัฒนา
Journal of Public Health and Development
รัชฏาภรณ์ อึ้งเจริญ
อัจฉราพร สี่หิรัญวงศ์
รณชัย คงสกนธ์
ดุสิต สุจิรารัตน์
การรับรู้ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรมและความตั้งใจในการเลิกสูบบุหรี่ของนักเรียนอาชีวะ ที่ติดนิโคตินและไม่ติดนิโคติน
description วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรมการเลิกสูบบุหรี่โดยทางตรง ทางอ้อมและความตั้งใจในการเลิกสูบบุหรี่ และเปรียบเทียบความเชื่อในการควบคุมและการรับรู้พลังอำนาจของปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการควบคุม พฤติกรรมการเลิกสูบบุหรี่ในระหว่าง 6 เดือนข้างหน้า ในนักเรียนอาชีวะที่ติดนิโคตินและไม่ติดนิโคติน รูปแบบการวิจัย: การวิจัยเชิงบรรยายความสัมพันธ์ วิธีดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1-3 ในเขตกรุงเทพมหานคร ที่สูบบุหรี่ อายุระหว่าง 15-24 ปี จำนวน 632 คน โดยสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ 3 ขั้น (A three-stage stratified cluster sampling) เครื่องมือในการวิจัย ได้แก่ แบบคัดกรอง CAGE เพื่อประเมินภาวะติดนิโคติน แบบสอบถามความตั้งใจในการเลิกสูบบุหรี่ การรับรู้ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรม ความเชื่อในการควบคุมพฤติกรรม การรับรู้พลังอำนาจของปัจจัยเกื้อหนุนและขัดขวางการเลิกสูบบุหรี่ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน และ independent t-test ผลการวิจัย: ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความสามารถในการควบคุม พฤติกรมการสูบบุหรี่ทางตรง ทางอ้อม และความตงั้ ใจในการเลิกสูบบุหรี่ในกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด กลุ่มที่ไม่ติดนิโคติน และติดนิโคตินส่วนมากอยู่ในระดับปานกลาง (r = 0.17 - 0.41, p < .01) กลุ่มที่ไม่ติดนิโคตินมีการรับรู้ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรมการสูบบุหรี่ทางตรง ทางอ้อม และความตั้งใจในการเลิกสูบบุหรี่ มากกว่า กลุ่มที่ติดนิโคตินอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .01) กลุ่มที่ไม่ติดและติดนิโคตินมีความเชื่อว่าการที่เพื่อนชวนให้สูบบุหรี่ และการเห็นเพื่อนสูบบุหรี่เป็นปัจจัยขัดขวางการเลิกสูบบุหรี่ไม่ต่างกัน กลุ่มที่ไม่ติดนิโคตินเชื่อในโอกาสเกิดปัจจัยเกื้อหนุนเช่น การมีโอกาสได้เล่นกีฬาหรือ ออกกำลังกาย การมีแบบอย่างที่ดี การมีคนใกล้ชิดให้กำลังใจ และการมีจิตใจที่เข้มแข็งอดทน มากกว่ากลุ่มที่ติดนิโคติน และมีการรับรู้พลัง อำนาจของปัจจัยควบคุมในการเลิกสูบบุหรี่มากกว่ากลุ่มที่ติดนิโคตินอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ สรุปและข้อเสนอแนะ: ความเชื่อต่อโอกาสในการเกิดปัจจัยการควบคุมและการรับรู้พลังอำนาจของปัจจัยควบคุมในการเลิกสูบบุหรี่ที่ต่างกันในระหว่างกลุ่มที่ติดนิโคตินและไม่ติดนิโคติน ควรใช้เป็นแนวทางในการรณรงค์ลด/ละ/เลิกบุหรี่สำหรับนักเรียนอาชีวะในกลุ่มที่ยังไม่ติดนิโคติน โดยเน้นเรื่องการจัดสิ่งแวดล้อมที่ปลอดบุหรี่ เสริมความเข้มแข็งทางใจ เสริมการให้กำลังใจจากเพื่อนและคนใกล้ชิด ส่วนกลุ่มที่ติดนิโคตินควรเพิ่มการควบคุมด้วยปัจจัยการบำบัด
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์.
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์.
รัชฏาภรณ์ อึ้งเจริญ
อัจฉราพร สี่หิรัญวงศ์
รณชัย คงสกนธ์
ดุสิต สุจิรารัตน์
format Article
author รัชฏาภรณ์ อึ้งเจริญ
อัจฉราพร สี่หิรัญวงศ์
รณชัย คงสกนธ์
ดุสิต สุจิรารัตน์
author_sort รัชฏาภรณ์ อึ้งเจริญ
title การรับรู้ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรมและความตั้งใจในการเลิกสูบบุหรี่ของนักเรียนอาชีวะ ที่ติดนิโคตินและไม่ติดนิโคติน
title_short การรับรู้ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรมและความตั้งใจในการเลิกสูบบุหรี่ของนักเรียนอาชีวะ ที่ติดนิโคตินและไม่ติดนิโคติน
title_full การรับรู้ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรมและความตั้งใจในการเลิกสูบบุหรี่ของนักเรียนอาชีวะ ที่ติดนิโคตินและไม่ติดนิโคติน
title_fullStr การรับรู้ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรมและความตั้งใจในการเลิกสูบบุหรี่ของนักเรียนอาชีวะ ที่ติดนิโคตินและไม่ติดนิโคติน
title_full_unstemmed การรับรู้ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรมและความตั้งใจในการเลิกสูบบุหรี่ของนักเรียนอาชีวะ ที่ติดนิโคตินและไม่ติดนิโคติน
title_sort การรับรู้ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรมและความตั้งใจในการเลิกสูบบุหรี่ของนักเรียนอาชีวะ ที่ติดนิโคตินและไม่ติดนิโคติน
publishDate 2017
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/2028
_version_ 1781415169614675968
spelling th-mahidol.20282023-04-12T15:22:40Z การรับรู้ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรมและความตั้งใจในการเลิกสูบบุหรี่ของนักเรียนอาชีวะ ที่ติดนิโคตินและไม่ติดนิโคติน Perceived behavioral controls and intention to quit smoking among vocational college students with nicotine addiction and non-addiction รัชฏาภรณ์ อึ้งเจริญ อัจฉราพร สี่หิรัญวงศ์ รณชัย คงสกนธ์ ดุสิต สุจิรารัตน์ มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาชีวสถิติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาระบาดวิทยา วัยรุ่น Adolescent การเลิกสูบบุหรี่ Quitting smoking ความตั้งใจในการเลิกสูบบุหรี่ Intention to quit smoking การติดนิโคติน Nicotine addiction การรับรู้ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรม Perceived behavioral control Open Access article วารสารสาธารณสุขและการพัฒนา Journal of Public Health and Development วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรมการเลิกสูบบุหรี่โดยทางตรง ทางอ้อมและความตั้งใจในการเลิกสูบบุหรี่ และเปรียบเทียบความเชื่อในการควบคุมและการรับรู้พลังอำนาจของปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการควบคุม พฤติกรรมการเลิกสูบบุหรี่ในระหว่าง 6 เดือนข้างหน้า ในนักเรียนอาชีวะที่ติดนิโคตินและไม่ติดนิโคติน รูปแบบการวิจัย: การวิจัยเชิงบรรยายความสัมพันธ์ วิธีดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1-3 ในเขตกรุงเทพมหานคร ที่สูบบุหรี่ อายุระหว่าง 15-24 ปี จำนวน 632 คน โดยสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ 3 ขั้น (A three-stage stratified cluster sampling) เครื่องมือในการวิจัย ได้แก่ แบบคัดกรอง CAGE เพื่อประเมินภาวะติดนิโคติน แบบสอบถามความตั้งใจในการเลิกสูบบุหรี่ การรับรู้ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรม ความเชื่อในการควบคุมพฤติกรรม การรับรู้พลังอำนาจของปัจจัยเกื้อหนุนและขัดขวางการเลิกสูบบุหรี่ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน และ independent t-test ผลการวิจัย: ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความสามารถในการควบคุม พฤติกรมการสูบบุหรี่ทางตรง ทางอ้อม และความตงั้ ใจในการเลิกสูบบุหรี่ในกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด กลุ่มที่ไม่ติดนิโคติน และติดนิโคตินส่วนมากอยู่ในระดับปานกลาง (r = 0.17 - 0.41, p < .01) กลุ่มที่ไม่ติดนิโคตินมีการรับรู้ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรมการสูบบุหรี่ทางตรง ทางอ้อม และความตั้งใจในการเลิกสูบบุหรี่ มากกว่า กลุ่มที่ติดนิโคตินอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .01) กลุ่มที่ไม่ติดและติดนิโคตินมีความเชื่อว่าการที่เพื่อนชวนให้สูบบุหรี่ และการเห็นเพื่อนสูบบุหรี่เป็นปัจจัยขัดขวางการเลิกสูบบุหรี่ไม่ต่างกัน กลุ่มที่ไม่ติดนิโคตินเชื่อในโอกาสเกิดปัจจัยเกื้อหนุนเช่น การมีโอกาสได้เล่นกีฬาหรือ ออกกำลังกาย การมีแบบอย่างที่ดี การมีคนใกล้ชิดให้กำลังใจ และการมีจิตใจที่เข้มแข็งอดทน มากกว่ากลุ่มที่ติดนิโคติน และมีการรับรู้พลัง อำนาจของปัจจัยควบคุมในการเลิกสูบบุหรี่มากกว่ากลุ่มที่ติดนิโคตินอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ สรุปและข้อเสนอแนะ: ความเชื่อต่อโอกาสในการเกิดปัจจัยการควบคุมและการรับรู้พลังอำนาจของปัจจัยควบคุมในการเลิกสูบบุหรี่ที่ต่างกันในระหว่างกลุ่มที่ติดนิโคตินและไม่ติดนิโคติน ควรใช้เป็นแนวทางในการรณรงค์ลด/ละ/เลิกบุหรี่สำหรับนักเรียนอาชีวะในกลุ่มที่ยังไม่ติดนิโคติน โดยเน้นเรื่องการจัดสิ่งแวดล้อมที่ปลอดบุหรี่ เสริมความเข้มแข็งทางใจ เสริมการให้กำลังใจจากเพื่อนและคนใกล้ชิด ส่วนกลุ่มที่ติดนิโคตินควรเพิ่มการควบคุมด้วยปัจจัยการบำบัด Purposes: This study aimed to examine relationship between direct, indirect perceived behavioral control (PBC) and intention to quit smoking and to compare the difference of intention, direct and indirect perceived behavioral control toward quitting smoking during the next six months between vocational college students with nicotine addiction and non-addiction. Designs: Descriptive correlational study. Methods: The subjects were 632 students, aged 15-24 years, who studied in vocational colleges (1st - 3rd year) located in Bangkok. A three-stage stratified cluster sampling was used to identify the subject. Subjects were given a set of questionnaires including Cage questionnaires modified for smoking behavior, intention, direct and indirect PBC, control beliefs and perceived power to quit smoking during the next six months. Descriptive statistic, Pearson’s product moment correlation coefficients and independent t-test were used to analyze the data. Main findings: The correlation amongst direct, indirect PBC and intention to quit smoking more likely to be positive relationships (r = 0.17 - 0.41, p <0.01). In addition, the nicotine non-addicted students had more perceived behavioral control toward their quitting smoking and intention to quit smoking than addicted students. Barrier factors that both groups believed indifferently including the opportunity to be asked to smoke and to see other people smoke. Facilitating factors that nicotine non-addicted students had more beliefs than addicted students including the opportunity to play sports or do exercise, find a good role model, receive encouragement from a closed person and have self-determination. In addition, the nonaddicted students had significantly more perceived power of facilitators and barrier factors than the other group. Conclusion and recommendations: The different beliefs concerning factors that can prevent or facilitate quitting smoking between students with nicotine addiction and non-addiction should use to be information for campaign of smoking cessation in vocational college students. In the non-addicted smokers should address on providing no-smoking area,encouraging the quitting behavior, and enhance supporting from significant persons while in the nicotine addicted smokers should add on therapeutic factors to control their quitting smoking. 2017-06-16T03:44:18Z 2017-06-16T03:44:18Z 2017-06-16 2557 Research Article วารสารสาธารณสุขและการพัฒนา. ปีที่ 12, ฉบับที่ 3 (2557), 18-29 1905-1387 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/2028 tha มหาวิทยาลัยมหิดล สถาบันพัฒนาการสาธารณสุขอาเซียน มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf