ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการปรับตัวในชีวิตสมรสของสตรีในเขตชนบท จังหวัดพิษณุโลก
การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการปรับตัวในชีวิต สมรสของสตรีในเขตชนบท อำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก กลุ่มตัวอย่างเป็นสตรีที่สมรส แล้วอยู่กินกับคู่สมรสตั้งแต่ 1-3 ปี จำนวน 250 คน ในเขตชนบท อำเภอพรหมพิราม จังหวัด พิษณุโลก เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์ ปัจจัยก่อน...
Saved in:
Main Authors: | , , , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Article |
Language: | Thai |
Published: |
2017
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/2161 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | Thai |
id |
th-mahidol.2161 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-mahidol.21612023-04-12T15:22:39Z ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการปรับตัวในชีวิตสมรสของสตรีในเขตชนบท จังหวัดพิษณุโลก สุธรรม นันทมงคลชัย ประภัสสร ธูปมงคล พูนสุข ช่วยทอง สุรินธร กลัมพากร มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาอนามัยครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาการพยาบาลสาธารณสุข การปรับตัวในชีวิตสมรส Marital adjustment ผู้หญิง สตรื Women เขตชนบท Rural area Open Access article วารสารสาธารณสุขและการพัฒนา Journal of Public Health and Development พิษณุโลก การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการปรับตัวในชีวิต สมรสของสตรีในเขตชนบท อำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก กลุ่มตัวอย่างเป็นสตรีที่สมรส แล้วอยู่กินกับคู่สมรสตั้งแต่ 1-3 ปี จำนวน 250 คน ในเขตชนบท อำเภอพรหมพิราม จังหวัด พิษณุโลก เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์ ปัจจัยก่อนสมรส ปัจจัยขณะสมรส แบบวัดการสนับสนุน ทางสังคม และแบบวัดการปรับตัวในชีวติ สมรส ระหว่างวันที่ 7 ถึง 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2545 วเิ คราะห์ขอ้ มูลโดยใช้สถิติ รอ้ ยละ คา่ เฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ Chi-square Test ผลการศึกษาพบว่า สตรีส่วนใหญ่มีระดับการปรับตัวในชีวิตสมรสอยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ 74.8 ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการปรับตัวในชีวิตสมรสอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ p-value < 0.05 คือปัจจัยก่อนสมรส ได้แก่ ความพร้อมด้านการเงิน ปัจจัยขณะสมรส ได้แก่ ระดับการ ศึกษา รายได้ครอบครัว และปัจจัยการสนับสนุนทางสังคม ผลการศึกษานี้มีข้อเสนอแนะว่า คู่สมรสควรมีความพร้อมด้านการเงินก่อนสมรส และสามีควร มีการสนับสนุนทางสังคมที่ดี เพื่อเป็นการส่งเสริมให้มีการปรับตัวในชีวิต สมรสที่ดีต่อไป The objectives of this cross-sectional study was to examine the factors related to marital adjustment of women in the rural areas of Phromphiram District, Phitsanulok Province. The sample consisted of 250 women who had been married for 1-3 years. The data were collected during 7-22 November, 2002 by interviewed using a questionnaire based on the measurement of the premarital factor, the marital factor, the Social Support Scale, and the Dyadic Adjustment Scale. Statistic used were frequency, percentage, mean, standard deviation, and Chi-square test. Results revealed that most of the women had marital adjustment at a moderate level (74.8 %). The factors that were significantly related to marital adjustment at (p-value < 0.05) were the premarital factors: financial readiness, marital factors including educational level, family income, and social support. The findings suggest that the spouse should have financial readiness before marriage. After marriage, the husband should have social support in order to get good marital adjustment. 2017-06-26T02:42:19Z 2017-06-26T02:42:19Z 2017-06-26 2548 Research Article วารสารสาธารณสุขและการพัฒนา. ปีที่ 3, ฉบับที่ 3 (2548), 11-18 1905-1387 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/2161 tha มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันพัฒนาการสาธารณสุขอาเซียน มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf |
institution |
Mahidol University |
building |
Mahidol University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Mahidol University Library |
collection |
Mahidol University Institutional Repository |
language |
Thai |
topic |
การปรับตัวในชีวิตสมรส Marital adjustment ผู้หญิง สตรื Women เขตชนบท Rural area Open Access article วารสารสาธารณสุขและการพัฒนา Journal of Public Health and Development พิษณุโลก |
spellingShingle |
การปรับตัวในชีวิตสมรส Marital adjustment ผู้หญิง สตรื Women เขตชนบท Rural area Open Access article วารสารสาธารณสุขและการพัฒนา Journal of Public Health and Development พิษณุโลก สุธรรม นันทมงคลชัย ประภัสสร ธูปมงคล พูนสุข ช่วยทอง สุรินธร กลัมพากร ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการปรับตัวในชีวิตสมรสของสตรีในเขตชนบท จังหวัดพิษณุโลก |
description |
การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการปรับตัวในชีวิต
สมรสของสตรีในเขตชนบท อำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก กลุ่มตัวอย่างเป็นสตรีที่สมรส
แล้วอยู่กินกับคู่สมรสตั้งแต่ 1-3 ปี จำนวน 250 คน ในเขตชนบท อำเภอพรหมพิราม จังหวัด
พิษณุโลก เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์ ปัจจัยก่อนสมรส ปัจจัยขณะสมรส แบบวัดการสนับสนุน
ทางสังคม และแบบวัดการปรับตัวในชีวติ สมรส ระหว่างวันที่ 7 ถึง 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2545
วเิ คราะห์ขอ้ มูลโดยใช้สถิติ รอ้ ยละ คา่ เฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ Chi-square Test
ผลการศึกษาพบว่า สตรีส่วนใหญ่มีระดับการปรับตัวในชีวิตสมรสอยู่ในระดับปานกลาง
ร้อยละ 74.8 ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการปรับตัวในชีวิตสมรสอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ p-value
< 0.05 คือปัจจัยก่อนสมรส ได้แก่ ความพร้อมด้านการเงิน ปัจจัยขณะสมรส ได้แก่ ระดับการ
ศึกษา รายได้ครอบครัว และปัจจัยการสนับสนุนทางสังคม
ผลการศึกษานี้มีข้อเสนอแนะว่า คู่สมรสควรมีความพร้อมด้านการเงินก่อนสมรส และสามีควร
มีการสนับสนุนทางสังคมที่ดี เพื่อเป็นการส่งเสริมให้มีการปรับตัวในชีวิต สมรสที่ดีต่อไป |
author2 |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาอนามัยครอบครัว |
author_facet |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาอนามัยครอบครัว สุธรรม นันทมงคลชัย ประภัสสร ธูปมงคล พูนสุข ช่วยทอง สุรินธร กลัมพากร |
format |
Article |
author |
สุธรรม นันทมงคลชัย ประภัสสร ธูปมงคล พูนสุข ช่วยทอง สุรินธร กลัมพากร |
author_sort |
สุธรรม นันทมงคลชัย |
title |
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการปรับตัวในชีวิตสมรสของสตรีในเขตชนบท จังหวัดพิษณุโลก |
title_short |
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการปรับตัวในชีวิตสมรสของสตรีในเขตชนบท จังหวัดพิษณุโลก |
title_full |
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการปรับตัวในชีวิตสมรสของสตรีในเขตชนบท จังหวัดพิษณุโลก |
title_fullStr |
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการปรับตัวในชีวิตสมรสของสตรีในเขตชนบท จังหวัดพิษณุโลก |
title_full_unstemmed |
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการปรับตัวในชีวิตสมรสของสตรีในเขตชนบท จังหวัดพิษณุโลก |
title_sort |
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการปรับตัวในชีวิตสมรสของสตรีในเขตชนบท จังหวัดพิษณุโลก |
publishDate |
2017 |
url |
https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/2161 |
_version_ |
1781414865574821888 |