การประเมินผลโครงการวิจัยและพัฒนาเครือข่ายการวิจัยบูรณาการ เพื่อพัฒนาสุขภาพและคุณภาพชีวิตชุมชนลุ่มแม่น้ำท่าจีน-แม่กลอง พื้นที่ศึกษาจังหวัดสมุทรสาคร ปี พ.ศ. 2546-2549
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผล โครงการวิจัยและพัฒนาเครือข่ายการวิจัยบูรณาการเพื่อพัฒนาสุขภาพและคุณภาพชีวิตชุมชนลุ่มแม่น้ำท่าจีน-แม่กลอง พื้นที่ศึกษาจังหวัดสมุทรสาคร ปี พ.ศ. 2546-2549 โดยประเมินปัจจัยนำเข้า กระบวนการ และผลลัพธ์การดำเนินงาน เก็บรวบรวมข้อมูลจากแหล่งทุติยภูมิและการสนทนากลุ่มภาค...
Saved in:
Main Authors: | , , , |
---|---|
Format: | Article |
Language: | Thai |
Published: |
2011
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/2325 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | Thai |
id |
th-mahidol.2325 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Mahidol University |
building |
Mahidol University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Mahidol University Library |
collection |
Mahidol University Institutional Repository |
language |
Thai |
topic |
การประเมินผลโครงการ เครือข่ายการวิจัยบูรณาการ ชุมชนลุ่มแม่น้ำท่าจีน-แม่กลอง Open Access article วารสารสาธารณสุขศาสตร์ Journal of Public Health |
spellingShingle |
การประเมินผลโครงการ เครือข่ายการวิจัยบูรณาการ ชุมชนลุ่มแม่น้ำท่าจีน-แม่กลอง Open Access article วารสารสาธารณสุขศาสตร์ Journal of Public Health กนิษฐา จำรูญสวัสดิ์ วิริณธิ์ กิตติพิชัย จรวยพร สุภาพ สมชาย ดุรงค์เดช การประเมินผลโครงการวิจัยและพัฒนาเครือข่ายการวิจัยบูรณาการ เพื่อพัฒนาสุขภาพและคุณภาพชีวิตชุมชนลุ่มแม่น้ำท่าจีน-แม่กลอง พื้นที่ศึกษาจังหวัดสมุทรสาคร ปี พ.ศ. 2546-2549 |
description |
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผล โครงการวิจัยและพัฒนาเครือข่ายการวิจัยบูรณาการเพื่อพัฒนาสุขภาพและคุณภาพชีวิตชุมชนลุ่มแม่น้ำท่าจีน-แม่กลอง พื้นที่ศึกษาจังหวัดสมุทรสาคร ปี พ.ศ. 2546-2549 โดยประเมินปัจจัยนำเข้า กระบวนการ และผลลัพธ์การดำเนินงาน เก็บรวบรวมข้อมูลจากแหล่งทุติยภูมิและการสนทนากลุ่มภาคีเครือข่ายในชุมชน 25 คน ในระหว่างเดือนสิงหาคม-ตุลาคม พ.ศ. 2549 การประเมินปัจจัยนำเข้าพบว่ามหาวิทยาลัยมหิดล มียุทธศาสตร์การวิจัยที่เน้นการศึกษาเชิงพื้นที่ เครือข่ายการวิจัยได้แก่นักวิจัยจากมหาวิทยาลัย ผู้นำชุมชน องค์กรท้องถิ่น และหน่วยงานในชุมชน มีการกำหนดเป้าหมายวัตถุประสงค์และแผนงานร่วมกัน ภาตใต้วิสัยทัศน์ของการพัฒนาตำบลอำแพงให้น่าอยู่ ชุมชนมีส่วนร่วมเสนอปัญหา ให้ข้อคิดเห็นผ่านเวทีประชาคมและร่วมดำเนินการ แต่ยังจำกัดอยู่ในบางกลุ่ม การประเมินกระบวนการพบว่ามีการเตรียมชุมชนโดยชี้แจงวัตถุประสงค์ให้ทุกฝ่ายรับรู้และมีส่วนร่วมเสริมสร้างสมรรถนะและความเข้มแข็งของชุมชนด้วยการอบรม สัมมนาและดูงานนอดสถานที่ เพื่อให้เครือข่ายวิจัยในพื้นที่นำความรู้และประสบการณ์มาพัฒนาชุมชน ใช้หอกระจายข่าวเพื่อประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารให้ชุมชนรับรู้และมีส่วนร่วม การดำเนินงานมีจุดอ่อนที่การมีส่วนร่วมยังจำกัด บุคลากรมีน้อยและมีภาระงานมาก ส่วนจุดแข็งคือชุมชนพร้อมที่จะทำประโยชน์เพื่อส่วนรวม มีความสามัคคี มีเครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันระหว่างชุมชนและทีมงาน การนิเทศควบคุมกำกับและประเมินผล ดำเนินการโดยหน่วยงานที่รับผิดชอบ โดยมี อบต. เป็นผู้ประสานงาน การประเมินผลลัพธ์พบว่าทีมวิจัยในชุมชนนำประสบการณ์ที่ได้จากการฝึกอบรม สัมมนา ดูงาน ไปใช้ผ่านการเป็นวิทยากรกระบวนการ และการพัฒนาชุมชนให้น่าอยู่ ชุมชนมีความเข้มแข็งที่จะดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพด้วยตนเอง โดยจัดเวทีประชาคมอย่างต่อเนื่อง และจัดทำแผนดำเนินงานร่วมกัน คนในชุมชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและจัดการด้านสิ่งแวดล้อมให้ดีขึ้น ทีมงานได้รับประสบการณ์ที่นำไปต่อยอดการดำเนินงานโดยมีแผนงานและเป้าหมายที่จะสานนต่อการพัฒนาชุมชนให้น่าอยู่อย่างยั่งยืน |
format |
Article |
author |
กนิษฐา จำรูญสวัสดิ์ วิริณธิ์ กิตติพิชัย จรวยพร สุภาพ สมชาย ดุรงค์เดช |
author_facet |
กนิษฐา จำรูญสวัสดิ์ วิริณธิ์ กิตติพิชัย จรวยพร สุภาพ สมชาย ดุรงค์เดช |
author_sort |
กนิษฐา จำรูญสวัสดิ์ |
title |
การประเมินผลโครงการวิจัยและพัฒนาเครือข่ายการวิจัยบูรณาการ เพื่อพัฒนาสุขภาพและคุณภาพชีวิตชุมชนลุ่มแม่น้ำท่าจีน-แม่กลอง พื้นที่ศึกษาจังหวัดสมุทรสาคร ปี พ.ศ. 2546-2549 |
title_short |
การประเมินผลโครงการวิจัยและพัฒนาเครือข่ายการวิจัยบูรณาการ เพื่อพัฒนาสุขภาพและคุณภาพชีวิตชุมชนลุ่มแม่น้ำท่าจีน-แม่กลอง พื้นที่ศึกษาจังหวัดสมุทรสาคร ปี พ.ศ. 2546-2549 |
title_full |
การประเมินผลโครงการวิจัยและพัฒนาเครือข่ายการวิจัยบูรณาการ เพื่อพัฒนาสุขภาพและคุณภาพชีวิตชุมชนลุ่มแม่น้ำท่าจีน-แม่กลอง พื้นที่ศึกษาจังหวัดสมุทรสาคร ปี พ.ศ. 2546-2549 |
title_fullStr |
การประเมินผลโครงการวิจัยและพัฒนาเครือข่ายการวิจัยบูรณาการ เพื่อพัฒนาสุขภาพและคุณภาพชีวิตชุมชนลุ่มแม่น้ำท่าจีน-แม่กลอง พื้นที่ศึกษาจังหวัดสมุทรสาคร ปี พ.ศ. 2546-2549 |
title_full_unstemmed |
การประเมินผลโครงการวิจัยและพัฒนาเครือข่ายการวิจัยบูรณาการ เพื่อพัฒนาสุขภาพและคุณภาพชีวิตชุมชนลุ่มแม่น้ำท่าจีน-แม่กลอง พื้นที่ศึกษาจังหวัดสมุทรสาคร ปี พ.ศ. 2546-2549 |
title_sort |
การประเมินผลโครงการวิจัยและพัฒนาเครือข่ายการวิจัยบูรณาการ เพื่อพัฒนาสุขภาพและคุณภาพชีวิตชุมชนลุ่มแม่น้ำท่าจีน-แม่กลอง พื้นที่ศึกษาจังหวัดสมุทรสาคร ปี พ.ศ. 2546-2549 |
publishDate |
2011 |
url |
https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/2325 |
_version_ |
1781415760772464640 |
spelling |
th-mahidol.23252023-04-12T15:30:21Z การประเมินผลโครงการวิจัยและพัฒนาเครือข่ายการวิจัยบูรณาการ เพื่อพัฒนาสุขภาพและคุณภาพชีวิตชุมชนลุ่มแม่น้ำท่าจีน-แม่กลอง พื้นที่ศึกษาจังหวัดสมุทรสาคร ปี พ.ศ. 2546-2549 Evaluation of a Research and Development Project on Integrated Network for Health and Quality Of Life Development among Thachene-Maklong Basins Communities : An Area-based Study of Samut Sakhon Province, 2003-2006 กนิษฐา จำรูญสวัสดิ์ วิริณธิ์ กิตติพิชัย จรวยพร สุภาพ สมชาย ดุรงค์เดช การประเมินผลโครงการ เครือข่ายการวิจัยบูรณาการ ชุมชนลุ่มแม่น้ำท่าจีน-แม่กลอง Open Access article วารสารสาธารณสุขศาสตร์ Journal of Public Health การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผล โครงการวิจัยและพัฒนาเครือข่ายการวิจัยบูรณาการเพื่อพัฒนาสุขภาพและคุณภาพชีวิตชุมชนลุ่มแม่น้ำท่าจีน-แม่กลอง พื้นที่ศึกษาจังหวัดสมุทรสาคร ปี พ.ศ. 2546-2549 โดยประเมินปัจจัยนำเข้า กระบวนการ และผลลัพธ์การดำเนินงาน เก็บรวบรวมข้อมูลจากแหล่งทุติยภูมิและการสนทนากลุ่มภาคีเครือข่ายในชุมชน 25 คน ในระหว่างเดือนสิงหาคม-ตุลาคม พ.ศ. 2549 การประเมินปัจจัยนำเข้าพบว่ามหาวิทยาลัยมหิดล มียุทธศาสตร์การวิจัยที่เน้นการศึกษาเชิงพื้นที่ เครือข่ายการวิจัยได้แก่นักวิจัยจากมหาวิทยาลัย ผู้นำชุมชน องค์กรท้องถิ่น และหน่วยงานในชุมชน มีการกำหนดเป้าหมายวัตถุประสงค์และแผนงานร่วมกัน ภาตใต้วิสัยทัศน์ของการพัฒนาตำบลอำแพงให้น่าอยู่ ชุมชนมีส่วนร่วมเสนอปัญหา ให้ข้อคิดเห็นผ่านเวทีประชาคมและร่วมดำเนินการ แต่ยังจำกัดอยู่ในบางกลุ่ม การประเมินกระบวนการพบว่ามีการเตรียมชุมชนโดยชี้แจงวัตถุประสงค์ให้ทุกฝ่ายรับรู้และมีส่วนร่วมเสริมสร้างสมรรถนะและความเข้มแข็งของชุมชนด้วยการอบรม สัมมนาและดูงานนอดสถานที่ เพื่อให้เครือข่ายวิจัยในพื้นที่นำความรู้และประสบการณ์มาพัฒนาชุมชน ใช้หอกระจายข่าวเพื่อประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารให้ชุมชนรับรู้และมีส่วนร่วม การดำเนินงานมีจุดอ่อนที่การมีส่วนร่วมยังจำกัด บุคลากรมีน้อยและมีภาระงานมาก ส่วนจุดแข็งคือชุมชนพร้อมที่จะทำประโยชน์เพื่อส่วนรวม มีความสามัคคี มีเครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันระหว่างชุมชนและทีมงาน การนิเทศควบคุมกำกับและประเมินผล ดำเนินการโดยหน่วยงานที่รับผิดชอบ โดยมี อบต. เป็นผู้ประสานงาน การประเมินผลลัพธ์พบว่าทีมวิจัยในชุมชนนำประสบการณ์ที่ได้จากการฝึกอบรม สัมมนา ดูงาน ไปใช้ผ่านการเป็นวิทยากรกระบวนการ และการพัฒนาชุมชนให้น่าอยู่ ชุมชนมีความเข้มแข็งที่จะดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพด้วยตนเอง โดยจัดเวทีประชาคมอย่างต่อเนื่อง และจัดทำแผนดำเนินงานร่วมกัน คนในชุมชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและจัดการด้านสิ่งแวดล้อมให้ดีขึ้น ทีมงานได้รับประสบการณ์ที่นำไปต่อยอดการดำเนินงานโดยมีแผนงานและเป้าหมายที่จะสานนต่อการพัฒนาชุมชนให้น่าอยู่อย่างยั่งยืน This study is aimed at evaluating a research and development project on integrated network for health and quality of life development among Thachene-Maklong Basins communities, focused on an area-based study of Samut Sakhon Province during 2003-2006. Input, process and outcome evaluation was conducted by using secondary sources of data and focused group discussion with community stakeholders. Input evaluation indicated that Mahidol University had an effective research strategy on an area-based study. The research network consisted of a researcher team from Mahidol University, community leaders, local authorities and local organizations. The goal, objectives and plan were set up under the vision of “Healthy Amphang”. Community people are involved in problem identification and given suggestions through public hearing approach, but are found only among a limited group. Process evaluation revealed that clear objectives were given for community preparation. Community strengthening and capacity building was conducted by training, seminar and study visit to help the area-based research networks to apply their knowledge and experiences for community development. Village broadcasting was used to disseminate information to community people to realize and to participate in the program. Weaknesses of the project implementation included low community involvement and a limited number of personnel with high workload. Strengths of the program were willingness of community people to work for the others, more consensus agreement, and development of a network to share and exchange knowledge and ideas between community and the research team. Supervision, monitoring and evaluation of the program were conducted by local authorities using a Tambol Administrative Organization (TAO) as a focal point. Outcome evaluation showed application of knowledge and experiences of the local network from training, seminar and study visit was performed by a group facilitator and healthy community development. The local communities were capable to conduct a health promoting program themselves by establishing regular public hearing and by setting up a plan together. Community people changed their health behaviors and improved through this better environment. The research team gained more experiences which they will apply in future work based on the plan and will aim for sustainability development of a healthy community. 2011-01-12T05:57:39Z 2011-08-26T08:26:18Z 2017-06-27T02:56:04Z 2011-01-12T05:57:39Z 2011-08-26T08:26:18Z 2017-06-27T02:56:04Z 2554-01-12 2551 Article วารสารสาธารณสุขศาสตร์. ปีที่ 38, ฉบับที่ 3 (2551), 352-365 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/2325 tha Mahidol University 122595 bytes application/pdf application/pdf วารสารสาธารณสุขศาสตร์ 2551 ก.ย.-ธ.ค.;38(3):352-365 |