การดูแลเด็กปฐมวัยของประเทศไทย

นโยบายและยุทธศาสตร์ในการพัฒนาเด็กปฐมวัยมีความชัดเจนมากขึ้นเป็นลำดับ มีแนวทาง ปฏิบัติให้แต่ละหน่วยงานรับมาปฏิบัติอย่างชัดเจน แต่มีปัญหาในเรื่องความเป็นเอกภาพที่แต่ละ หน่วยงานยังดำเนินการในลักษณะของต่างคนต่างทำ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการจัดบริการให้แก่เด็กปฐมวัยนั้นมีอยู่ 6 กระทรวง ทั้งนี้เป็นผลมา...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: บังอร เทพเทียน, ปิยฉัตร ตระกูลวงษ์
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันพัฒนาการสาธารณสุขอาเซียน
Format: Article
Language:Thai
Published: 2017
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/2360
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
Description
Summary:นโยบายและยุทธศาสตร์ในการพัฒนาเด็กปฐมวัยมีความชัดเจนมากขึ้นเป็นลำดับ มีแนวทาง ปฏิบัติให้แต่ละหน่วยงานรับมาปฏิบัติอย่างชัดเจน แต่มีปัญหาในเรื่องความเป็นเอกภาพที่แต่ละ หน่วยงานยังดำเนินการในลักษณะของต่างคนต่างทำ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการจัดบริการให้แก่เด็กปฐมวัยนั้นมีอยู่ 6 กระทรวง ทั้งนี้เป็นผลมา จากนโยบายให้มีการจัดการศึกษาให้เด็กปฐมวัยได้ครอบคลุม จึงต้องอาศัยหน่วยงานหลายหน่วยงาน และเป็นไปตามนโยบายของรัฐที่ส่งเสริม สนับสนุน ให้ครอบครัว องค์กรชุมชน องค์กร ปกครอง ส่วนท้องถิ่น องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และ สถาบันสังคมอื่น มีส่วนร่วมในการพัฒนาเด็กปฐมวัยให้ทั่วถึง มีคุณภาพ และได้มาตรฐานเท่าเทียมกัน แต่ถ้ามอง ในแง่ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการ ก็อาจมองได้ว่าเป็นการทำงานที่ซ้ำซ้อน และกระจัดกระจาย มากเกินไป กระทรวงศึกษาธิการ ได้จัดทำหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยขึ้นใน พ.ศ. 2540 และได้มีการนำ หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยไปใช้อย่างกว้างขวาง มีหลายหน่วยงานที่ได้ทำการผลิตคู่มือเพื่อ พัฒนาเด็กปฐมวัยเป็นจำนวนมาก เป็นการชี้ชัดว่าสังคมไทยมีความตระหนักและให้ความสำคัญแก่ เด็กปฐมวัยมากขึ้น