กระบวนวิธีพิจารณาด้านจริยธรรมการแพทย์

การรวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนวิธีพิจารณาด้านจริยธรรมการแพทย์ของแพทยสภา ใช้วิธีการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ โดยสัมภาษณ์เชิงลึกจากตัวแทนคณะกรรมการด้านจริยธรรมและคณะกรรมการแพทยสภา ระหว่างวันที่ 5 มกราคม ถึงวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2552 วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ฉัตรสุมน พฤฒิภิญโญ, Chardsumon Prutipinyo
Format: Article
Language:Thai
Published: 2014
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/2442
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.2442
record_format dspace
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic กระบวนวิธีพิจารณาจริยธรรม
คณะกรรมการจริยธรรม
แพทยสภา
การลงโทษทางจริยธรรม
The Medical Ethics Procedure
The Ethical Committee
Medical Council
Ethical Punishment
Open Access article
วารสารสาธารณสุขศาสตร์
Journal of Public Health
spellingShingle กระบวนวิธีพิจารณาจริยธรรม
คณะกรรมการจริยธรรม
แพทยสภา
การลงโทษทางจริยธรรม
The Medical Ethics Procedure
The Ethical Committee
Medical Council
Ethical Punishment
Open Access article
วารสารสาธารณสุขศาสตร์
Journal of Public Health
ฉัตรสุมน พฤฒิภิญโญ
Chardsumon Prutipinyo
กระบวนวิธีพิจารณาด้านจริยธรรมการแพทย์
description การรวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนวิธีพิจารณาด้านจริยธรรมการแพทย์ของแพทยสภา ใช้วิธีการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ โดยสัมภาษณ์เชิงลึกจากตัวแทนคณะกรรมการด้านจริยธรรมและคณะกรรมการแพทยสภา ระหว่างวันที่ 5 มกราคม ถึงวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2552 วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า กระบวนการวินิจฉัยด้านจริยธรรมถือเป็นกระบวนการภายในของแพทยสภา เมื่อแพทยสภาได้รับคำร้องเรียนจากผู้ป่วยหรือญาติผู้ป่วยแล้ว จำดำเนินการตวจสอบตามคำกล่าวหา ขั้นตอนดำเนินการวินิจฉัยของแพทยสภาถูกกำกับโดยกฎหมายปกครองอีกชั้นหนึ่ง แพทยสภาดำเนินการพิจารณาสอบสวนเรื่องร้องเรียนนั้นโดยผ่านทางคณะอนุกรรมการ 2 ชุด แบ่งเป็น 2 ขั้นตอน ขั้นตอนแรก ดำเนินการลงมติว่าเป็นคดีมีมูลหรือไม่ โดยคณะอนุกรรมการจริยธรรม ถ้าคดีมีมูล สงสัยว่าจะมีการประพฤติผิดจริยธรรมการตัดสินของคณะอนุกรรมการจริยธรรมจะต้องผ่านมติความเห็นชอบของคณะกรรมการแพทยสภาก่อน ขั้นตอนที่สอง ส่งให้คณะอนุกรรมการสอบสวน หากแพทย์ที่ถูกกล่าวหานั้นได้ประพฤติผิดจริง คณะอนุกรรมการสอบสวนก็จะเสนอบทลงโทษต่อคณะกรรมการแพทยสภา ให้ตัดสินลงโทษแพทย์ผู้นั้น ในกรณีที่คณะอนุกรรมการจริยธรรมสรุปว่าเป็นคดีไม่มีมูล เรื่องร้องเรียนนั้นก็เป็นอันยุติ และแจ้งให้ผู้ร้องเรียนทราบผล การพิจารณาการลงโทษทางจริยธรรมโดยแพทยสภามี 4 ระดับ ได้แก่ ว่ากล่าวตักเตือน ภาคทัณฑ์ พักใช้ใบอนุญาตมีกำหนดระยะเวลา และเพิกถอนใบอนุญาต โทษที่รุนแรงสุดคือ การเพิกถอนใบอนุญาต กระบวนวิธีพิจารณานี้มีหลักประกันความเป็นธรรมทั้งสองฝ่าย แต่กระบวนการพิจารณาต้องใช้เวลาและต้องใช้การวินิจฉัยของแทพย์ผู้เชี่ยวชาญ การศึกษานี้มีข้อเสนอแนะควรให้มีกลไกที่จะสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ป่วยและแพทย์เพื่อให้ลดจำนวนการเข้าสู่กระบวนการพิจารณา
author2 ฉัตรสุมน พฤฒิภิญโญ
author_facet ฉัตรสุมน พฤฒิภิญโญ
ฉัตรสุมน พฤฒิภิญโญ
Chardsumon Prutipinyo
format Article
author ฉัตรสุมน พฤฒิภิญโญ
Chardsumon Prutipinyo
author_sort ฉัตรสุมน พฤฒิภิญโญ
title กระบวนวิธีพิจารณาด้านจริยธรรมการแพทย์
title_short กระบวนวิธีพิจารณาด้านจริยธรรมการแพทย์
title_full กระบวนวิธีพิจารณาด้านจริยธรรมการแพทย์
title_fullStr กระบวนวิธีพิจารณาด้านจริยธรรมการแพทย์
title_full_unstemmed กระบวนวิธีพิจารณาด้านจริยธรรมการแพทย์
title_sort กระบวนวิธีพิจารณาด้านจริยธรรมการแพทย์
publishDate 2014
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/2442
_version_ 1781415170230190080
spelling th-mahidol.24422023-04-12T15:26:58Z กระบวนวิธีพิจารณาด้านจริยธรรมการแพทย์ The procedure of medical ethics ฉัตรสุมน พฤฒิภิญโญ Chardsumon Prutipinyo ฉัตรสุมน พฤฒิภิญโญ มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาบริหารงานสาธารณสุข กระบวนวิธีพิจารณาจริยธรรม คณะกรรมการจริยธรรม แพทยสภา การลงโทษทางจริยธรรม The Medical Ethics Procedure The Ethical Committee Medical Council Ethical Punishment Open Access article วารสารสาธารณสุขศาสตร์ Journal of Public Health การรวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนวิธีพิจารณาด้านจริยธรรมการแพทย์ของแพทยสภา ใช้วิธีการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ โดยสัมภาษณ์เชิงลึกจากตัวแทนคณะกรรมการด้านจริยธรรมและคณะกรรมการแพทยสภา ระหว่างวันที่ 5 มกราคม ถึงวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2552 วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า กระบวนการวินิจฉัยด้านจริยธรรมถือเป็นกระบวนการภายในของแพทยสภา เมื่อแพทยสภาได้รับคำร้องเรียนจากผู้ป่วยหรือญาติผู้ป่วยแล้ว จำดำเนินการตวจสอบตามคำกล่าวหา ขั้นตอนดำเนินการวินิจฉัยของแพทยสภาถูกกำกับโดยกฎหมายปกครองอีกชั้นหนึ่ง แพทยสภาดำเนินการพิจารณาสอบสวนเรื่องร้องเรียนนั้นโดยผ่านทางคณะอนุกรรมการ 2 ชุด แบ่งเป็น 2 ขั้นตอน ขั้นตอนแรก ดำเนินการลงมติว่าเป็นคดีมีมูลหรือไม่ โดยคณะอนุกรรมการจริยธรรม ถ้าคดีมีมูล สงสัยว่าจะมีการประพฤติผิดจริยธรรมการตัดสินของคณะอนุกรรมการจริยธรรมจะต้องผ่านมติความเห็นชอบของคณะกรรมการแพทยสภาก่อน ขั้นตอนที่สอง ส่งให้คณะอนุกรรมการสอบสวน หากแพทย์ที่ถูกกล่าวหานั้นได้ประพฤติผิดจริง คณะอนุกรรมการสอบสวนก็จะเสนอบทลงโทษต่อคณะกรรมการแพทยสภา ให้ตัดสินลงโทษแพทย์ผู้นั้น ในกรณีที่คณะอนุกรรมการจริยธรรมสรุปว่าเป็นคดีไม่มีมูล เรื่องร้องเรียนนั้นก็เป็นอันยุติ และแจ้งให้ผู้ร้องเรียนทราบผล การพิจารณาการลงโทษทางจริยธรรมโดยแพทยสภามี 4 ระดับ ได้แก่ ว่ากล่าวตักเตือน ภาคทัณฑ์ พักใช้ใบอนุญาตมีกำหนดระยะเวลา และเพิกถอนใบอนุญาต โทษที่รุนแรงสุดคือ การเพิกถอนใบอนุญาต กระบวนวิธีพิจารณานี้มีหลักประกันความเป็นธรรมทั้งสองฝ่าย แต่กระบวนการพิจารณาต้องใช้เวลาและต้องใช้การวินิจฉัยของแทพย์ผู้เชี่ยวชาญ การศึกษานี้มีข้อเสนอแนะควรให้มีกลไกที่จะสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ป่วยและแพทย์เพื่อให้ลดจำนวนการเข้าสู่กระบวนการพิจารณา The objective of this research is to study the procedure of medical ethics diagnosed by Medical Council. The data was collected through in-depth interview of the representatives of the ethical sub-committee and committee of medical council during January 5th to March 30th, 2009 and analyzed by content analysis. The result found that the procedure of ethical issue diagnosis is internal procedure of the council. The process starts when the patient or the relative complains about the doctor in the ethical issues. Each stage is examined about legitimacy by administrative law. The process of council verdict is divided into 2 stages; by the ethical sub-committee and by the investigational sub-committee. In the first stage, the ethical sub-committee must examine and pass a resolution of the case which there is a prima facie case or groundless. In case of having a prima facie case, the process will run to prove the validity. The sub-committee’s decision is sent to the council committee. In the second stage, the allegations are sent to the investigational sub-committee for proving and propose the suitable punishment. Then the result of investigation is sent to the council committee to propose punishment for the doctor who violates the ethical rules of Medical Council. In case of no fault, everything is over; but if the case was found that there is violation of the ethical issue; the council committee will inform the doctor and record the decision in the membership roster. There are 4 ethical punishments: warning, probation, license suspension and licensed withdrawn. The strongest punishment is to withdraw the name from the medical list. This procedure has secured a fair and justice process. But it takes time for consideration and need of medical ethics experts. The recommendation from this study is establishment of a mechanism for maintaining good relationship between patients and physicians to reduce the number of process into consideration. ขอขอบคุณภาควิชาบริหารงานสาธารณสุข คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ที่ให้ทุนสนับสนุนการวิจัยนี้ 2014-12-17T08:11:27Z 2017-06-30T08:35:22Z 2014-12-17T08:11:27Z 2017-06-30T08:35:22Z 2014-12-17 2552-09 Article วารสารสาธารณสุขศาสตร์. ปีที่ 39, ฉบับที่ 3 (2552), 357-367 0125-1678 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/2442 tha มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf