ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพการตรวจวินิจฉัยเสมหะ ผู้มีอาการสงสัยป่วยเป็นวัณโรค ที่ห้องปฏิบัติการอ้างอิงชันสูตรวัณโรคแห่งชาติ สำนักวัณโรค กรมควบคุมโรค
การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพการตรวจวินิจฉัยเสมหะผู้มีอาการสงสัยป่วยเป็นวัณโรค ที่ห้องปฏิบัติการอ้างอิงชันสูตรวัณโรคแห่งชาติ สำนักวัณโรค กรมควบคุมโรค เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามจากผู้ที่มารับบริการตรวจวินิจฉัยเสมหะหาเชื้อวัณโรครายใหม่ระหว่าง...
Saved in:
Main Authors: | , , , , |
---|---|
Format: | Article |
Language: | Thai |
Published: |
มหาวิทยาลัยมหิดล
2014
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/2445 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | Thai |
id |
th-mahidol.2445 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Mahidol University |
building |
Mahidol University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Mahidol University Library |
collection |
Mahidol University Institutional Repository |
language |
Thai |
topic |
การตรวจวินิจฉัย คุณภาพ เสมหะ กล้องจุลทรรศน์ Quality Diagnosis Sputum Microscopy Open Access article วารสารสาธารณสุขศาสตร์ Journal of Public Health |
spellingShingle |
การตรวจวินิจฉัย คุณภาพ เสมหะ กล้องจุลทรรศน์ Quality Diagnosis Sputum Microscopy Open Access article วารสารสาธารณสุขศาสตร์ Journal of Public Health ชนัฎตรี บุญอินทร์ ปิยธิดา ตรีเดช พีระ ครึกครื้นจิตร Piyathida Tridech Peera Kruegkruenjit ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพการตรวจวินิจฉัยเสมหะ ผู้มีอาการสงสัยป่วยเป็นวัณโรค ที่ห้องปฏิบัติการอ้างอิงชันสูตรวัณโรคแห่งชาติ สำนักวัณโรค กรมควบคุมโรค |
description |
การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพการตรวจวินิจฉัยเสมหะผู้มีอาการสงสัยป่วยเป็นวัณโรค ที่ห้องปฏิบัติการอ้างอิงชันสูตรวัณโรคแห่งชาติ สำนักวัณโรค กรมควบคุมโรค เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามจากผู้ที่มารับบริการตรวจวินิจฉัยเสมหะหาเชื้อวัณโรครายใหม่ระหว่าง 3 พฤศจิกายน 31 ธันวามคม 2551 และใช้ผลตรวจครั้งแรก จำนวน 394 คน โดยใช้แบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติพรรณนา แสดงด้วยค่าร้อยละ ค่าเฉลีย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติวิเคราะห์ ใช้การทดสอบไคสแควร์ ผลการวิจัยพบว่าคุณภาพการตรวจวินิจฉัยเสมหะผู้มีอาการสงสัยป่วยเป็นวัณโรค โดยผลการอ่านสไลด์ของผู้ปฏิบัติงานประจำ (ผู้ถูกประเมิน) เปรียบเทียบกับผู้ประเมินสไลด์ซึ่งเป็นผู้รับผิดชอบงานประกันคุณภาพสไลด์ (ผู้ประเมิน) จำนวนเสมหะ 394 ตัวอย่าง มีผลการอ่านสไลด์ถูกต้องตรงกัน ร้อยละ 98.7 ผู้ปฏิบัติงานประจำอ่านไม่พบเชื้อทนกรด (ผลลบปลลอม) ร้อยละ 0.6 ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน และผู้ปฏิบัติงานประจำอ่านพบเชื้อทนกรดแต่ผู้ประเมินอ่านไม่พบเชื้อทนกรด (ผลบวกปลอม) ร้อยละ 6.1 ซึ่งไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานความคลาดเคลือนของการตรวจด้วยกล้องจุลทรรศน์ โดยเกณฑ์จะยอมให้เกิดผลบวกปลอมไม่ได้แม้แต่แผ่นเดียว ขณะที่ความรู้และทัศนคติของผู้รับบริการบางข้ออยู่ในระดับไม่ดีเกี่ยวกับการเก็บเสมหะมีผลต่อพฤติกรรมที่แสดงออกคือ คุณภาพเสมหะที่เก็บได้เป็นเสมหะปนน้ำลายหรือน้ำลาย ร้อยละ 92.4 คุณภาพเสมหะของขั้นตอนการตรวจวินิจฉัยส่วนใหญ่ไม่ดีส่งผลให้การเสมียร์ส่วนใหญ่บางและไม่สม่ำเสมอ ปัจจัยด้านผู้ให้บริการคือ คุณภาพเสมหะ ความหนาบาง และความสม่ำเสมอของสไลด์มีความสัมพันธ์กับคุณภาพการตรวจวินิจฉัยเสมหะผู้มีอาการสงสัยป่วยเป็นวัณโรค อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ p value < 0.001 ดังนั้นควรให้สุขศึกษาแก่ผู้รับบริการโดยใช้แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรม เพื่อวัดความสำเร็จของการสื่อสารถ่ายทอด และควรจัดการอบรมเชิงปฏิบัติ เพื่อให้บุคลากรเกิดความชำนาญ |
author2 |
ปิยธิดา ตรีเดช |
author_facet |
ปิยธิดา ตรีเดช ชนัฎตรี บุญอินทร์ ปิยธิดา ตรีเดช พีระ ครึกครื้นจิตร Piyathida Tridech Peera Kruegkruenjit |
format |
Article |
author |
ชนัฎตรี บุญอินทร์ ปิยธิดา ตรีเดช พีระ ครึกครื้นจิตร Piyathida Tridech Peera Kruegkruenjit |
author_sort |
ชนัฎตรี บุญอินทร์ |
title |
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพการตรวจวินิจฉัยเสมหะ ผู้มีอาการสงสัยป่วยเป็นวัณโรค ที่ห้องปฏิบัติการอ้างอิงชันสูตรวัณโรคแห่งชาติ สำนักวัณโรค กรมควบคุมโรค |
title_short |
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพการตรวจวินิจฉัยเสมหะ ผู้มีอาการสงสัยป่วยเป็นวัณโรค ที่ห้องปฏิบัติการอ้างอิงชันสูตรวัณโรคแห่งชาติ สำนักวัณโรค กรมควบคุมโรค |
title_full |
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพการตรวจวินิจฉัยเสมหะ ผู้มีอาการสงสัยป่วยเป็นวัณโรค ที่ห้องปฏิบัติการอ้างอิงชันสูตรวัณโรคแห่งชาติ สำนักวัณโรค กรมควบคุมโรค |
title_fullStr |
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพการตรวจวินิจฉัยเสมหะ ผู้มีอาการสงสัยป่วยเป็นวัณโรค ที่ห้องปฏิบัติการอ้างอิงชันสูตรวัณโรคแห่งชาติ สำนักวัณโรค กรมควบคุมโรค |
title_full_unstemmed |
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพการตรวจวินิจฉัยเสมหะ ผู้มีอาการสงสัยป่วยเป็นวัณโรค ที่ห้องปฏิบัติการอ้างอิงชันสูตรวัณโรคแห่งชาติ สำนักวัณโรค กรมควบคุมโรค |
title_sort |
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพการตรวจวินิจฉัยเสมหะ ผู้มีอาการสงสัยป่วยเป็นวัณโรค ที่ห้องปฏิบัติการอ้างอิงชันสูตรวัณโรคแห่งชาติ สำนักวัณโรค กรมควบคุมโรค |
publisher |
มหาวิทยาลัยมหิดล |
publishDate |
2014 |
url |
https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/2445 |
_version_ |
1781415077095669760 |
spelling |
th-mahidol.24452023-04-12T15:26:19Z ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพการตรวจวินิจฉัยเสมหะ ผู้มีอาการสงสัยป่วยเป็นวัณโรค ที่ห้องปฏิบัติการอ้างอิงชันสูตรวัณโรคแห่งชาติ สำนักวัณโรค กรมควบคุมโรค Associated factors of quality to tuberculosis diagnosis in suspected cases The National Tuberculosis Reference Laboratory Department of Disease Control ชนัฎตรี บุญอินทร์ ปิยธิดา ตรีเดช พีระ ครึกครื้นจิตร Piyathida Tridech Peera Kruegkruenjit ปิยธิดา ตรีเดช มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาบริหารงานสาธารณสุข การตรวจวินิจฉัย คุณภาพ เสมหะ กล้องจุลทรรศน์ Quality Diagnosis Sputum Microscopy Open Access article วารสารสาธารณสุขศาสตร์ Journal of Public Health การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพการตรวจวินิจฉัยเสมหะผู้มีอาการสงสัยป่วยเป็นวัณโรค ที่ห้องปฏิบัติการอ้างอิงชันสูตรวัณโรคแห่งชาติ สำนักวัณโรค กรมควบคุมโรค เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามจากผู้ที่มารับบริการตรวจวินิจฉัยเสมหะหาเชื้อวัณโรครายใหม่ระหว่าง 3 พฤศจิกายน 31 ธันวามคม 2551 และใช้ผลตรวจครั้งแรก จำนวน 394 คน โดยใช้แบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติพรรณนา แสดงด้วยค่าร้อยละ ค่าเฉลีย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติวิเคราะห์ ใช้การทดสอบไคสแควร์ ผลการวิจัยพบว่าคุณภาพการตรวจวินิจฉัยเสมหะผู้มีอาการสงสัยป่วยเป็นวัณโรค โดยผลการอ่านสไลด์ของผู้ปฏิบัติงานประจำ (ผู้ถูกประเมิน) เปรียบเทียบกับผู้ประเมินสไลด์ซึ่งเป็นผู้รับผิดชอบงานประกันคุณภาพสไลด์ (ผู้ประเมิน) จำนวนเสมหะ 394 ตัวอย่าง มีผลการอ่านสไลด์ถูกต้องตรงกัน ร้อยละ 98.7 ผู้ปฏิบัติงานประจำอ่านไม่พบเชื้อทนกรด (ผลลบปลลอม) ร้อยละ 0.6 ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน และผู้ปฏิบัติงานประจำอ่านพบเชื้อทนกรดแต่ผู้ประเมินอ่านไม่พบเชื้อทนกรด (ผลบวกปลอม) ร้อยละ 6.1 ซึ่งไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานความคลาดเคลือนของการตรวจด้วยกล้องจุลทรรศน์ โดยเกณฑ์จะยอมให้เกิดผลบวกปลอมไม่ได้แม้แต่แผ่นเดียว ขณะที่ความรู้และทัศนคติของผู้รับบริการบางข้ออยู่ในระดับไม่ดีเกี่ยวกับการเก็บเสมหะมีผลต่อพฤติกรรมที่แสดงออกคือ คุณภาพเสมหะที่เก็บได้เป็นเสมหะปนน้ำลายหรือน้ำลาย ร้อยละ 92.4 คุณภาพเสมหะของขั้นตอนการตรวจวินิจฉัยส่วนใหญ่ไม่ดีส่งผลให้การเสมียร์ส่วนใหญ่บางและไม่สม่ำเสมอ ปัจจัยด้านผู้ให้บริการคือ คุณภาพเสมหะ ความหนาบาง และความสม่ำเสมอของสไลด์มีความสัมพันธ์กับคุณภาพการตรวจวินิจฉัยเสมหะผู้มีอาการสงสัยป่วยเป็นวัณโรค อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ p value < 0.001 ดังนั้นควรให้สุขศึกษาแก่ผู้รับบริการโดยใช้แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรม เพื่อวัดความสำเร็จของการสื่อสารถ่ายทอด และควรจัดการอบรมเชิงปฏิบัติ เพื่อให้บุคลากรเกิดความชำนาญ This is descriptive research whose objective is to study associated factors of quality to Tuberculosis diagnosis in suspected cases at the National Tuberculosis Reference Laboratory, Department of Disease Control. The data was collected between November 3 to December 31, 2008 from 394 persons who visited TB clinics for newly suspected Tuberculosis diagnosis by using the first result of sputum examination and a questionnaire. The data analysis used descriptive statistics to show percentage, mean, standard deviation and Chi-square test results. The results of this study indicate that the agreement rate of the quality on Tuberculosis diagnosis of the suspected cases using 394 smear slide examinations between permanent officers (persons making the initial assessment) and controllers was 98.7%. The sputum examination showed that results not found by permanent officers on white acid fast bacilli were found by the controller to be 0.6% of cases. That is in the acceptable level grade of false negatives. The discrepancy between acid fast bacilli found by permanent officers to acid fast bacilli not found by the controller was 6.1%. This is unacceptable for the false positive slides. The knowledge and attitude about sputum collection of the suspected cases was not good. This affected the behavior these people in that they produced unsatisfactory sputum quality as the sputum was mixed with saliva and saliva alone 92.4% of cases. Most of the bad sputum quality was caused by thin and uneven smear slides. The results of macroscopic examination on items of thick and thin smear slides and evenness of the smears and the reading of AFB smears showed relation to quality on Tuberculosis diagnosis by microscope p value < 0.001. Thus hygiene should be taught to the users via the theory on knowledge, attitude and behavior for assessment success in the communication or relay. Permanent officers should be workshop for get experience. 2014-12-17T08:04:33Z 2017-06-30T08:35:22Z 2014-12-17T08:04:33Z 2017-06-30T08:35:22Z 2014-11-17 2552-09 Article วารสารสาธารณสุขศาสตร์. ปีที่ 39, ฉบับที่ 3 (2552), 332-341 0125-1678 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/2445 tha มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf มหาวิทยาลัยมหิดล |