ความตั้งใจที่จะลาออกจากงานของเจ้าหน้าที่ศึกษาเฉพาะกรณี ศูนย์ประสานความร่วมมือระหว่างไทย ออสเตรเลีย เนเธอร์แลนด์ เพื่อการศึกษาวิจัยทางคลินิก ด้านโรคเอดส์ ศูนย์วิจัยโรคเอดส์ สภากาชาดไทย

การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงวิเคราะห์ เพื่อวัดระดับความตั้งใจที่จะลาออกจากงาน ระดับความพึงพอใจในงาน และระดับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของเจ้าหน้าที่ และเพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างความพึงพอใจในงาน ความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การ กับความตั้งใจที่จะลาออกจากงานของเจ้าหน้าที่ กลุ่มตัวอย่างคือ เจ้าหน้าที่ศูนย์...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: สินีนาฏ ชาวตระการ, ปิยธิดา ตรีเดช, พีระ ครึกครื้นจิตร, วงเดือน ปั้นดี, Piyathida Tridech, Peera Krugkrunjit, Wongdyan Pandii
Format: Article
Language:Thai
Published: 2014
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/2449
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.2449
record_format dspace
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic ความตั้งใจที่จะลาออกจากงาน
ความพึงพอใจในงาน
ความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การ
Turnover Intention
Job Satisfaction
Organization Commitment
Open Access article
วารสารสาธารณสุขศาสตร์
Journal of Public Health
spellingShingle ความตั้งใจที่จะลาออกจากงาน
ความพึงพอใจในงาน
ความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การ
Turnover Intention
Job Satisfaction
Organization Commitment
Open Access article
วารสารสาธารณสุขศาสตร์
Journal of Public Health
สินีนาฏ ชาวตระการ
ปิยธิดา ตรีเดช
พีระ ครึกครื้นจิตร
วงเดือน ปั้นดี
Piyathida Tridech
Peera Krugkrunjit
Wongdyan Pandii
ความตั้งใจที่จะลาออกจากงานของเจ้าหน้าที่ศึกษาเฉพาะกรณี ศูนย์ประสานความร่วมมือระหว่างไทย ออสเตรเลีย เนเธอร์แลนด์ เพื่อการศึกษาวิจัยทางคลินิก ด้านโรคเอดส์ ศูนย์วิจัยโรคเอดส์ สภากาชาดไทย
description การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงวิเคราะห์ เพื่อวัดระดับความตั้งใจที่จะลาออกจากงาน ระดับความพึงพอใจในงาน และระดับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของเจ้าหน้าที่ และเพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างความพึงพอใจในงาน ความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การ กับความตั้งใจที่จะลาออกจากงานของเจ้าหน้าที่ กลุ่มตัวอย่างคือ เจ้าหน้าที่ศูนย์ประสานงานฯ 86 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามระหว่างวันที่ 15 มิถุนายน - 15 สิงหาคม 2551 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ T-test, One-way ANOVA, Correlation และ Multiple Regression ผลการวิจัย พบว่าเจ้าหน้าที่ส่วนใหญ่ ร้อยละ 60.7 มีความตั้งใจที่จะลาออกจากงานระดับต่ำ ร้อยละ 5306 มีความพึงพอใจในงานระดับปานกลาง และร้อยละ 76.1 มีความยึดมั่นผูกพันธ์ต่อองค์การระดับปานกลาง เจ้าหน้าที่อายุต่างกันและหน่วยงานต่างกัน จะมีระดับความตั้งใจที่จะลาออกจากงานแตกต่างกัน (p < 0.05) ความพึงพอใจในงานโดยรวมและความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การโดยรวมมีความสัมพันธ์ทางลบกับความตั้งใจที่จะลาออกจากงาน (p < 0.05, p < 0.001 ตามลำดับ) ความพึงพอใจในงานและความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การสามารถร่วมกันทำนายความตั้งใจที่จะลาออกจากงานได้ร้อยละ 26 จากการวิจัยครั้งนี้มีข้อเสนอแนะว่า ผู้บริหารควรนำหลักการการจัดการความสำเร็จในอชีพมาใช้โดยพัฒนาให้ชัดเจนขึ้น ให้เจ้าหน้าที่รู้สึกมั่นใจว่าสามารถเติบโตในสายงานและก้าวหน้าในองค์การได้ ควบคู่กับการใช้เทคนิคการจูงใจในองค์การ โดยการจูงใจด้วยงาน ด้วยผลตอบแทนที่เป็นเงิน ด้วยผลตอบแทนที่ไม่ใช่เงิน ด้วยสภาพแวดล้อมในการทำงาน และด้วยสวัสดิการต่างๆ ร่วมกับการส่งเสริมให้เกิดความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การโดยการเพิ่มความสำคัญของงาน การกำหนดผลประโยชน์ของเจ้าหน้าที่ให้สอดคล้องกับผลประโยชน์ขององค์การ
author2 ปิยธิดา ตรีเดช
author_facet ปิยธิดา ตรีเดช
สินีนาฏ ชาวตระการ
ปิยธิดา ตรีเดช
พีระ ครึกครื้นจิตร
วงเดือน ปั้นดี
Piyathida Tridech
Peera Krugkrunjit
Wongdyan Pandii
format Article
author สินีนาฏ ชาวตระการ
ปิยธิดา ตรีเดช
พีระ ครึกครื้นจิตร
วงเดือน ปั้นดี
Piyathida Tridech
Peera Krugkrunjit
Wongdyan Pandii
author_sort สินีนาฏ ชาวตระการ
title ความตั้งใจที่จะลาออกจากงานของเจ้าหน้าที่ศึกษาเฉพาะกรณี ศูนย์ประสานความร่วมมือระหว่างไทย ออสเตรเลีย เนเธอร์แลนด์ เพื่อการศึกษาวิจัยทางคลินิก ด้านโรคเอดส์ ศูนย์วิจัยโรคเอดส์ สภากาชาดไทย
title_short ความตั้งใจที่จะลาออกจากงานของเจ้าหน้าที่ศึกษาเฉพาะกรณี ศูนย์ประสานความร่วมมือระหว่างไทย ออสเตรเลีย เนเธอร์แลนด์ เพื่อการศึกษาวิจัยทางคลินิก ด้านโรคเอดส์ ศูนย์วิจัยโรคเอดส์ สภากาชาดไทย
title_full ความตั้งใจที่จะลาออกจากงานของเจ้าหน้าที่ศึกษาเฉพาะกรณี ศูนย์ประสานความร่วมมือระหว่างไทย ออสเตรเลีย เนเธอร์แลนด์ เพื่อการศึกษาวิจัยทางคลินิก ด้านโรคเอดส์ ศูนย์วิจัยโรคเอดส์ สภากาชาดไทย
title_fullStr ความตั้งใจที่จะลาออกจากงานของเจ้าหน้าที่ศึกษาเฉพาะกรณี ศูนย์ประสานความร่วมมือระหว่างไทย ออสเตรเลีย เนเธอร์แลนด์ เพื่อการศึกษาวิจัยทางคลินิก ด้านโรคเอดส์ ศูนย์วิจัยโรคเอดส์ สภากาชาดไทย
title_full_unstemmed ความตั้งใจที่จะลาออกจากงานของเจ้าหน้าที่ศึกษาเฉพาะกรณี ศูนย์ประสานความร่วมมือระหว่างไทย ออสเตรเลีย เนเธอร์แลนด์ เพื่อการศึกษาวิจัยทางคลินิก ด้านโรคเอดส์ ศูนย์วิจัยโรคเอดส์ สภากาชาดไทย
title_sort ความตั้งใจที่จะลาออกจากงานของเจ้าหน้าที่ศึกษาเฉพาะกรณี ศูนย์ประสานความร่วมมือระหว่างไทย ออสเตรเลีย เนเธอร์แลนด์ เพื่อการศึกษาวิจัยทางคลินิก ด้านโรคเอดส์ ศูนย์วิจัยโรคเอดส์ สภากาชาดไทย
publishDate 2014
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/2449
_version_ 1781414997489876992
spelling th-mahidol.24492023-04-12T15:25:58Z ความตั้งใจที่จะลาออกจากงานของเจ้าหน้าที่ศึกษาเฉพาะกรณี ศูนย์ประสานความร่วมมือระหว่างไทย ออสเตรเลีย เนเธอร์แลนด์ เพื่อการศึกษาวิจัยทางคลินิก ด้านโรคเอดส์ ศูนย์วิจัยโรคเอดส์ สภากาชาดไทย Turnover intention of employees: A study of the HIV Netherlands Australia Thailand research collaboration, Thai Red Cross AIDS Research Centre (HIV-NAT) สินีนาฏ ชาวตระการ ปิยธิดา ตรีเดช พีระ ครึกครื้นจิตร วงเดือน ปั้นดี Piyathida Tridech Peera Krugkrunjit Wongdyan Pandii ปิยธิดา ตรีเดช มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาบริหารงานสาธารณสุข มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาปรสิตวิทยา ความตั้งใจที่จะลาออกจากงาน ความพึงพอใจในงาน ความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การ Turnover Intention Job Satisfaction Organization Commitment Open Access article วารสารสาธารณสุขศาสตร์ Journal of Public Health การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงวิเคราะห์ เพื่อวัดระดับความตั้งใจที่จะลาออกจากงาน ระดับความพึงพอใจในงาน และระดับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของเจ้าหน้าที่ และเพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างความพึงพอใจในงาน ความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การ กับความตั้งใจที่จะลาออกจากงานของเจ้าหน้าที่ กลุ่มตัวอย่างคือ เจ้าหน้าที่ศูนย์ประสานงานฯ 86 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามระหว่างวันที่ 15 มิถุนายน - 15 สิงหาคม 2551 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ T-test, One-way ANOVA, Correlation และ Multiple Regression ผลการวิจัย พบว่าเจ้าหน้าที่ส่วนใหญ่ ร้อยละ 60.7 มีความตั้งใจที่จะลาออกจากงานระดับต่ำ ร้อยละ 5306 มีความพึงพอใจในงานระดับปานกลาง และร้อยละ 76.1 มีความยึดมั่นผูกพันธ์ต่อองค์การระดับปานกลาง เจ้าหน้าที่อายุต่างกันและหน่วยงานต่างกัน จะมีระดับความตั้งใจที่จะลาออกจากงานแตกต่างกัน (p < 0.05) ความพึงพอใจในงานโดยรวมและความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การโดยรวมมีความสัมพันธ์ทางลบกับความตั้งใจที่จะลาออกจากงาน (p < 0.05, p < 0.001 ตามลำดับ) ความพึงพอใจในงานและความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การสามารถร่วมกันทำนายความตั้งใจที่จะลาออกจากงานได้ร้อยละ 26 จากการวิจัยครั้งนี้มีข้อเสนอแนะว่า ผู้บริหารควรนำหลักการการจัดการความสำเร็จในอชีพมาใช้โดยพัฒนาให้ชัดเจนขึ้น ให้เจ้าหน้าที่รู้สึกมั่นใจว่าสามารถเติบโตในสายงานและก้าวหน้าในองค์การได้ ควบคู่กับการใช้เทคนิคการจูงใจในองค์การ โดยการจูงใจด้วยงาน ด้วยผลตอบแทนที่เป็นเงิน ด้วยผลตอบแทนที่ไม่ใช่เงิน ด้วยสภาพแวดล้อมในการทำงาน และด้วยสวัสดิการต่างๆ ร่วมกับการส่งเสริมให้เกิดความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การโดยการเพิ่มความสำคัญของงาน การกำหนดผลประโยชน์ของเจ้าหน้าที่ให้สอดคล้องกับผลประโยชน์ขององค์การ The objective of this analytical research were to measuring the levels of turnover intention, job satisfaction and organization commitment of the staff at HIV-NAT in order to find out the relationship between job satisfaction and organization commitment with turnover intention. The data were collected by questionnaire during June 15th - August 15th, 2008 and analyzed by T-test, One-way ANOVA, correlation and multiple regression. The result showed that most HIV-NAT staff (60.7%) had a low level of turnover intention, 53.6% had a moderate level of job satisfaction and 76.1% had a moderate level of organization commitment. Age group and agency had a significant relationship to turnover intention (p < 0.05). The overall job satisfaction and organization commitment were significant negatively related to turnover intention (p < 0.05 and p < 0.01, respectively). Job satisfaction and organization commitment together could predict 26% of turnover intention. The research recommendation is the administrative team should be more clearly apply the principles of successful career management to ensuring that the staff can attain growth and advancement in their career path, and to use the techniques of organizational motivation - through the job itself, financial compensation, non-financial compensation, working environment, and fringe benefits together with promoting organization commitment - to reinforcing the importance of the job, to ensure that staff benefits match those of the organization. 2014-12-17T07:48:23Z 2017-06-30T08:35:23Z 2014-12-17T07:48:23Z 2017-06-30T08:35:23Z 2014-12-17 2552-09 Article วารสารสาธารณสุขศาสตร์. ปีที่ 39, ฉบับที่ 3 (2552), 283-295 0125-1678 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/2449 tha มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf