การส่งเสริมสุขภาพจิตเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตแบบมีส่วนร่วมในประชาชนและเจ้าหน้าที่ผู้ประสบอุทกภัย ปี 2549 พื้นที่อำเภอป่าโมก จังหวัดอ่างทอง

อุทกภัยในปี 2549 เป็นเวลานานกว่า 2 เดือน ทำให้พื้นที่ภาคกลาง โดยเฉพาะจังหวัดอ่างทองมีประชาชนได้รับผลกระทบเป็นอย่างมากทั้งด้านสุขภาพกายและจิตใจ การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมสุขภาพจิตและพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนและเจ้าหน้าที่ในพื้นที่อำเภอป่าโมก...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: พิมพ์สุภาว์ จันทนะโสตถิ์, ทัศนีย์ รวิวรกุล, สุพร อภินันทเวช, Pimsupa Chandanasotthi, Tassanee Rawiworrakul, Suporn Apinuntavech
Format: Article
Language:Thai
Published: 2015
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/2484
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.2484
record_format dspace
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic อุทกภัย
การส่งเสริมสุขภาพจิต
การวิจัยแบบมีส่วนร่วม
คุณภาพชีวิต
Mental Health Promotion
Participatory Action Research
Quality of Life
Flooding Disaster
Open Access article
วารสารสาธารณสุขศาสตร์
Journal of Public Health
spellingShingle อุทกภัย
การส่งเสริมสุขภาพจิต
การวิจัยแบบมีส่วนร่วม
คุณภาพชีวิต
Mental Health Promotion
Participatory Action Research
Quality of Life
Flooding Disaster
Open Access article
วารสารสาธารณสุขศาสตร์
Journal of Public Health
พิมพ์สุภาว์ จันทนะโสตถิ์
ทัศนีย์ รวิวรกุล
สุพร อภินันทเวช
Pimsupa Chandanasotthi
Tassanee Rawiworrakul
Suporn Apinuntavech
การส่งเสริมสุขภาพจิตเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตแบบมีส่วนร่วมในประชาชนและเจ้าหน้าที่ผู้ประสบอุทกภัย ปี 2549 พื้นที่อำเภอป่าโมก จังหวัดอ่างทอง
description อุทกภัยในปี 2549 เป็นเวลานานกว่า 2 เดือน ทำให้พื้นที่ภาคกลาง โดยเฉพาะจังหวัดอ่างทองมีประชาชนได้รับผลกระทบเป็นอย่างมากทั้งด้านสุขภาพกายและจิตใจ การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมสุขภาพจิตและพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนและเจ้าหน้าที่ในพื้นที่อำเภอป่าโมก จังหวัดอ่างทอง ผลการศึกษาแยกเป็น 2 ด้าน ในด้านประชาชน มีประชาชนที่ร่วมตอบแบบสอบถามก่อนและหลังโครงการจำนวน 463 คน และ 544 คน ตามลำดับ พบว่ามีโครงการเกิดขึ้นโดยพัฒนาจากการมีส่วนร่วมของประชาชนทั้งหมด 11 โครงการ จาก 7 ชุมชน ผลการศึกษาพบว่าภายหลังสิ้นสุดโครงการประชาชนมีคะแนนเฉลี่ยสุขภาพจิตและคุณภาพชีวิตสูงขึ้น แต่ไม่แตกต่างกันทางสถิติ ส่วนพฤติกรรมภายหลังอุทกภัยพบว่ามีความเห็นอกเห็นใจในครอบครัว ความเข้มแข็งต่อความยากลำบาก และการมองคนในแง่ดีมากขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p = .002, . 008, และ .002 ตามลำดับ) แต่พบว่า มีรายได้ลดน้อยลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p = .012) นอกจากนี้พบว่ามีการได้รับข้อมูลข่าวสาร การเข้าร่วมกิจกรรมของชุมชนและมีการเอาใจใส่ดูแลจากคนในครอบครัวเพิ่มมากขึ้น ส่วนในด้านเจ้าหน้าที่ มีเจ้าหน้าที่ตอบแบบสอบถามก่อนและภายหลังสิ้นสุดโครงการ จำนวน 79 คน และ 76 คน ตามลำดับ พบว่าหลังสิ้นสุดโครงการเจ้าหน้าที่มีคะแนนเฉลี่ยสุขภาพจิต การปรับตัว และคุณภาพชีวิตสูงขึ้น แต่ไม่แตกต่างกันทางสถิติ จากผลการวิจัยและการถอดบทเรียน พบว่าการดำเนินการวิจัยแบบมีส่วนร่วมในชุมชนมีศักยภาพและความเข้มแข็งของประชาชนทุกกลุ่มวัย โดยอาศัยพื้นฐานของภูมิปัญญาท้องถิ่น ความยึดมั่นศรัทธาในพุทธศาสนา วัฒนธรรมประเพณีของชุมชน และทรัพยากรสนับสนุนจากหน่วยงานภายนอกและองค์กรบริหารส่วนท้องถิ่น ทำให้เกิดความร่วมมือในการดำเนินการโครงการที่ชุมชนร่วมคิดและร่วมทำมีความสำเร็จ ต่อเนื่อง และยั่งยืน In 2006, a flooding disaster in central part of Thailand caused people suffering, both physical and mental health problems. This study was a participatory action research aimed to promote mental health and quality of life for flooding people and government/local officers, Pa Mok District, Ang Thong Province. Eleven projects form six villages were developed and participated in by people in their own communities and one mental health promotion project was provided for the officers. Results are separated into people’s and officers’ perspectives. There were 463 people and 79 officers who responded to the pretest questionnaire while 544 people and 76 officers did the posttest questionnaire. For the people perspective, there were 11 projects developed by community participation in 7 communities. After the projects’ completion, people had higher mental health and quality of life mean scores at posttest time than from the pretest mean scores, but no significance different was detected. However, the behaviors after flooding, empathy in family, hardiness, and optimism were statistically different (p = .002, .008, and .002, respectively). In addition, people also reported that they received more information, had more community participation, and stronger family attachments. Accordingly, officers’ results also revealed higher mental health, adaptation, and quality of life mean scores at posttest but with no significant difference from the pretest. Lessons learned from these projects reveal variables influencing communities’ participation and cooperation for the success, continuation, and sustaining of the projects. These variables include community potential, traditional and local knowledge, faith in Buddhism religion, cultural community, resources and support from the outside community and the local government.
author2 พิมพ์สุภาว์ จันทนะโสตถิ์
author_facet พิมพ์สุภาว์ จันทนะโสตถิ์
พิมพ์สุภาว์ จันทนะโสตถิ์
ทัศนีย์ รวิวรกุล
สุพร อภินันทเวช
Pimsupa Chandanasotthi
Tassanee Rawiworrakul
Suporn Apinuntavech
format Article
author พิมพ์สุภาว์ จันทนะโสตถิ์
ทัศนีย์ รวิวรกุล
สุพร อภินันทเวช
Pimsupa Chandanasotthi
Tassanee Rawiworrakul
Suporn Apinuntavech
author_sort พิมพ์สุภาว์ จันทนะโสตถิ์
title การส่งเสริมสุขภาพจิตเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตแบบมีส่วนร่วมในประชาชนและเจ้าหน้าที่ผู้ประสบอุทกภัย ปี 2549 พื้นที่อำเภอป่าโมก จังหวัดอ่างทอง
title_short การส่งเสริมสุขภาพจิตเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตแบบมีส่วนร่วมในประชาชนและเจ้าหน้าที่ผู้ประสบอุทกภัย ปี 2549 พื้นที่อำเภอป่าโมก จังหวัดอ่างทอง
title_full การส่งเสริมสุขภาพจิตเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตแบบมีส่วนร่วมในประชาชนและเจ้าหน้าที่ผู้ประสบอุทกภัย ปี 2549 พื้นที่อำเภอป่าโมก จังหวัดอ่างทอง
title_fullStr การส่งเสริมสุขภาพจิตเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตแบบมีส่วนร่วมในประชาชนและเจ้าหน้าที่ผู้ประสบอุทกภัย ปี 2549 พื้นที่อำเภอป่าโมก จังหวัดอ่างทอง
title_full_unstemmed การส่งเสริมสุขภาพจิตเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตแบบมีส่วนร่วมในประชาชนและเจ้าหน้าที่ผู้ประสบอุทกภัย ปี 2549 พื้นที่อำเภอป่าโมก จังหวัดอ่างทอง
title_sort การส่งเสริมสุขภาพจิตเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตแบบมีส่วนร่วมในประชาชนและเจ้าหน้าที่ผู้ประสบอุทกภัย ปี 2549 พื้นที่อำเภอป่าโมก จังหวัดอ่างทอง
publishDate 2015
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/2484
_version_ 1781414644192116736
spelling th-mahidol.24842023-04-12T15:24:53Z การส่งเสริมสุขภาพจิตเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตแบบมีส่วนร่วมในประชาชนและเจ้าหน้าที่ผู้ประสบอุทกภัย ปี 2549 พื้นที่อำเภอป่าโมก จังหวัดอ่างทอง Mental health promotion for quality of life through participation of flooding people and government officers in 2006, Pa Mok District, Ang Thong Province พิมพ์สุภาว์ จันทนะโสตถิ์ ทัศนีย์ รวิวรกุล สุพร อภินันทเวช Pimsupa Chandanasotthi Tassanee Rawiworrakul Suporn Apinuntavech พิมพ์สุภาว์ จันทนะโสตถิ์ มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาพยาบาลสาธารณสุข มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล อุทกภัย การส่งเสริมสุขภาพจิต การวิจัยแบบมีส่วนร่วม คุณภาพชีวิต Mental Health Promotion Participatory Action Research Quality of Life Flooding Disaster Open Access article วารสารสาธารณสุขศาสตร์ Journal of Public Health อุทกภัยในปี 2549 เป็นเวลานานกว่า 2 เดือน ทำให้พื้นที่ภาคกลาง โดยเฉพาะจังหวัดอ่างทองมีประชาชนได้รับผลกระทบเป็นอย่างมากทั้งด้านสุขภาพกายและจิตใจ การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมสุขภาพจิตและพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนและเจ้าหน้าที่ในพื้นที่อำเภอป่าโมก จังหวัดอ่างทอง ผลการศึกษาแยกเป็น 2 ด้าน ในด้านประชาชน มีประชาชนที่ร่วมตอบแบบสอบถามก่อนและหลังโครงการจำนวน 463 คน และ 544 คน ตามลำดับ พบว่ามีโครงการเกิดขึ้นโดยพัฒนาจากการมีส่วนร่วมของประชาชนทั้งหมด 11 โครงการ จาก 7 ชุมชน ผลการศึกษาพบว่าภายหลังสิ้นสุดโครงการประชาชนมีคะแนนเฉลี่ยสุขภาพจิตและคุณภาพชีวิตสูงขึ้น แต่ไม่แตกต่างกันทางสถิติ ส่วนพฤติกรรมภายหลังอุทกภัยพบว่ามีความเห็นอกเห็นใจในครอบครัว ความเข้มแข็งต่อความยากลำบาก และการมองคนในแง่ดีมากขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p = .002, . 008, และ .002 ตามลำดับ) แต่พบว่า มีรายได้ลดน้อยลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p = .012) นอกจากนี้พบว่ามีการได้รับข้อมูลข่าวสาร การเข้าร่วมกิจกรรมของชุมชนและมีการเอาใจใส่ดูแลจากคนในครอบครัวเพิ่มมากขึ้น ส่วนในด้านเจ้าหน้าที่ มีเจ้าหน้าที่ตอบแบบสอบถามก่อนและภายหลังสิ้นสุดโครงการ จำนวน 79 คน และ 76 คน ตามลำดับ พบว่าหลังสิ้นสุดโครงการเจ้าหน้าที่มีคะแนนเฉลี่ยสุขภาพจิต การปรับตัว และคุณภาพชีวิตสูงขึ้น แต่ไม่แตกต่างกันทางสถิติ จากผลการวิจัยและการถอดบทเรียน พบว่าการดำเนินการวิจัยแบบมีส่วนร่วมในชุมชนมีศักยภาพและความเข้มแข็งของประชาชนทุกกลุ่มวัย โดยอาศัยพื้นฐานของภูมิปัญญาท้องถิ่น ความยึดมั่นศรัทธาในพุทธศาสนา วัฒนธรรมประเพณีของชุมชน และทรัพยากรสนับสนุนจากหน่วยงานภายนอกและองค์กรบริหารส่วนท้องถิ่น ทำให้เกิดความร่วมมือในการดำเนินการโครงการที่ชุมชนร่วมคิดและร่วมทำมีความสำเร็จ ต่อเนื่อง และยั่งยืน In 2006, a flooding disaster in central part of Thailand caused people suffering, both physical and mental health problems. This study was a participatory action research aimed to promote mental health and quality of life for flooding people and government/local officers, Pa Mok District, Ang Thong Province. Eleven projects form six villages were developed and participated in by people in their own communities and one mental health promotion project was provided for the officers. Results are separated into people’s and officers’ perspectives. There were 463 people and 79 officers who responded to the pretest questionnaire while 544 people and 76 officers did the posttest questionnaire. For the people perspective, there were 11 projects developed by community participation in 7 communities. After the projects’ completion, people had higher mental health and quality of life mean scores at posttest time than from the pretest mean scores, but no significance different was detected. However, the behaviors after flooding, empathy in family, hardiness, and optimism were statistically different (p = .002, .008, and .002, respectively). In addition, people also reported that they received more information, had more community participation, and stronger family attachments. Accordingly, officers’ results also revealed higher mental health, adaptation, and quality of life mean scores at posttest but with no significant difference from the pretest. Lessons learned from these projects reveal variables influencing communities’ participation and cooperation for the success, continuation, and sustaining of the projects. These variables include community potential, traditional and local knowledge, faith in Buddhism religion, cultural community, resources and support from the outside community and the local government. 2015-03-11T07:48:19Z 2017-06-30T08:39:48Z 2015-03-11T07:48:19Z 2017-06-30T08:39:48Z 2015-03-11 2551 Article วารสารสาธารณสุขศาสตร์. ฉบับพิเศษ (2551), 36-49 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/2484 tha มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf