The Continuum from Action Research to Community Based Participation Research
There has been a greater convergence of principles and values among the terms action research, participation action research, and Community Based Participation Research (CBPR). However, these approaches stem from three separate traditions that are at opposite ends of a continuum. At one end of th...
Saved in:
Main Authors: | , |
---|---|
Format: | Article |
Language: | English |
Published: |
2015
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/2485 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | English |
id |
th-mahidol.2485 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-mahidol.24852023-04-12T15:24:14Z The Continuum from Action Research to Community Based Participation Research วิวัฒนาการจากงานวิจัยเชิงปฏิบัติการสู่งานวิจัยแบบมีส่วนร่วมโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน Naruemon Auemaneekul นฤมล เอื้อมณีกูล Naruemon Auemaneekul Mahidol university. Faculty of Public Health. Department of Public Health Nursing Action Research Participation Action Research Community Based Participation Research งานวิจัยเชิงปฏิบัติการ งานวิจัยแบบมีส่วนร่วม งานวิจัยแบบมีส่วนร่วมโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน Open Access article วารสารสาธารณสุขศาสตร์ Journal of Public Health There has been a greater convergence of principles and values among the terms action research, participation action research, and Community Based Participation Research (CBPR). However, these approaches stem from three separate traditions that are at opposite ends of a continuum. At one end of the continuum is Action Research (AR), which emphasizes involving people affected by a problem in practical problem solving through a cyclic process of look, think, and act. In the middle of this continuum are Participatory Action Research (PAR) traditions, which have their roots in popular education and related work with and by oppressed people. All those inquiries emphasize breaking the monopoly of knowledge by universities. At the other end of this continuum is CBPR, which has its principles in focusing on true partnerships between outside researchers and communities with the goal of ending health disparities. CBPR is considered to be at the emancipatory end of the continuum and ideally serves as a gold standard for practice. The purpose of this article is to elaborate on the development of emancipatory research approaches from AR to CBPR in order that public health workers and educators can apply such research in their duty with the ultimate aim of ending a country’s health disparities. งานวิจัยแบบมีส่วนร่วมนั้น ไม่ว่าจะเป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ การวิจัยแบบมีส่วนร่วม หรือการวิจัยแบบใช้ชุมชนเป็นฐาน ต่างก็มีหลักการที่สอดคล้องกัน อย่างไรก็ตามเมื่อพิจารณางานวิจัยทั้งสามรูปแบบตามวิวัฒนาการของการวิจัย แล้ว พบว่างานวิจัยเชิงปฏิบัติการสามารถจัดอยู่ในยุคแรกๆ ของวิวัฒนาการงานวิจัยกลุ่มนี้ซึ่งงานวิจัยเชิงปฏิบัติการจะเน้นการมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาของชุมชนที่ประสบปัญหาในระดับปฏิบัติการ เป็นกระบวนการที่เป็นวงจรต่อเนื่อง ตั้งแต่กระบวนการตรวจสอบปัญหา กระบวนการคิดแก้ปัญหา และกระบวนการปฏิบัติเพื่อแก้ปัญหา ส่วนการวิจัยแบบมีส่วนร่วมนั้นจัดว่าอยู่ในยุคกลางของการพัฒนาซึ่งมีรากฐานความคิดมาจากการพัฒนาศึกษาและการทำงานโดยประชาชนกลุ่มด้อยโอกาสหรือกลุ่มผู้ถูกกดขี่จากสังคมซึ่งการวิจัยแบบมีส่วนร่วมนั้นจะเน้นการยุติระบบการผูกขาด ความรู้จากสถาบันการศึกษา สำหรับการวิจัยแบบมีส่วนร่วมโดยใช้ชุมชนเป็นฐานนั้นถือว่าเป็นวิวัฒนาการขั้นสูงสุดของงานวิจัยกลุ่มนี้ ซึ่งเน้นการมีส่วนร่วมอย่างแท้จริง ระหว่างนักวิจัยนอกพื้นที่กับชุมชนโดยมีเป้าหมายสูงสุดเพื่อการยุติความ เหลื่อมล้ำทางด้านสุขภาพ การวิจัยแบบมีส่วนร่วมโดยใช้ชุมชนเป็นฐานนั้นได้รับการยอมรับว่าเป็นกลุ่มวิธีวิจัยที่สามารถปลดปล่อยอิสรภาพทางด้านความคิดของชุมชนได้มากที่สุด ถือว่าเป็นวิวัฒนาการขั้นสูงสุดของกลุ่มงานวิจัยแบบมีส่วนร่วมและได้รับการยอมรับว่าเป็นมาตรฐานการปฏิบัติที่ดีที่สุด วัตถุประสงค์ของบทความนี้เพื่อแสดงให้เห็นถึงวิวัฒนาการและการพัฒนาการของกลุ่มงานวิจัยแบบมีส่วนร่วมซึ่งมีวัตถุประสงค์ในการปลดปล่อยความเป็นอิสระทางด้านความคิด ของชุมชนโดยไม่มีการผูกขาดจากสถาบันการศึกษา โดยในบทความนี้จะแสดงให้เห็นถึงวิวัฒนาการตั้งแต่งานวิจัยเชิงปฏิบัติการจนถึงงานวิจัยแบบมีส่วนร่วมโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานและนักการศึกษาด้านสาธารณสุขได้นำไปประยุกต์ใช้ในงานของตนเอง โดยมีเป้าหมายสูงสุดเพื่อยุติความเหลื่อมล้ำด้านสุขภาพของคนในประเทศ 2015-04-16T09:03:58Z 2017-06-30T08:40:35Z 2015-04-16T09:03:58Z 2017-06-30T08:40:35Z 2015-04-16 2010 Article Journal of Public Health. Vol.40, No.1 (2010), 86-100 0125-1678 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/2485 eng Mahidol university Mahidol university application/pdf |
institution |
Mahidol University |
building |
Mahidol University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Mahidol University Library |
collection |
Mahidol University Institutional Repository |
language |
English |
topic |
Action Research Participation Action Research Community Based Participation Research งานวิจัยเชิงปฏิบัติการ งานวิจัยแบบมีส่วนร่วม งานวิจัยแบบมีส่วนร่วมโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน Open Access article วารสารสาธารณสุขศาสตร์ Journal of Public Health |
spellingShingle |
Action Research Participation Action Research Community Based Participation Research งานวิจัยเชิงปฏิบัติการ งานวิจัยแบบมีส่วนร่วม งานวิจัยแบบมีส่วนร่วมโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน Open Access article วารสารสาธารณสุขศาสตร์ Journal of Public Health Naruemon Auemaneekul นฤมล เอื้อมณีกูล The Continuum from Action Research to Community Based Participation Research |
description |
There has been a greater convergence of principles and values among the terms action
research, participation action research, and Community Based Participation Research (CBPR).
However, these approaches stem from three separate traditions that are at opposite ends of a continuum.
At one end of the continuum is Action Research (AR), which emphasizes involving people affected by
a problem in practical problem solving through a cyclic process of look, think, and act. In the middle
of this continuum are Participatory Action Research (PAR) traditions, which have their roots in
popular education and related work with and by oppressed people. All those inquiries emphasize
breaking the monopoly of knowledge by universities. At the other end of this continuum is CBPR,
which has its principles in focusing on true partnerships between outside researchers and communities
with the goal of ending health disparities. CBPR is considered to be at the emancipatory end of the
continuum and ideally serves as a gold standard for practice. The purpose of this article is to elaborate
on the development of emancipatory research approaches from AR to CBPR in order that public health
workers and educators can apply such research in their duty with the ultimate aim of ending a country’s
health disparities.
งานวิจัยแบบมีส่วนร่วมนั้น ไม่ว่าจะเป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ การวิจัยแบบมีส่วนร่วม หรือการวิจัยแบบใช้ชุมชนเป็นฐาน ต่างก็มีหลักการที่สอดคล้องกัน อย่างไรก็ตามเมื่อพิจารณางานวิจัยทั้งสามรูปแบบตามวิวัฒนาการของการวิจัย แล้ว พบว่างานวิจัยเชิงปฏิบัติการสามารถจัดอยู่ในยุคแรกๆ ของวิวัฒนาการงานวิจัยกลุ่มนี้ซึ่งงานวิจัยเชิงปฏิบัติการจะเน้นการมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาของชุมชนที่ประสบปัญหาในระดับปฏิบัติการ เป็นกระบวนการที่เป็นวงจรต่อเนื่อง ตั้งแต่กระบวนการตรวจสอบปัญหา กระบวนการคิดแก้ปัญหา และกระบวนการปฏิบัติเพื่อแก้ปัญหา ส่วนการวิจัยแบบมีส่วนร่วมนั้นจัดว่าอยู่ในยุคกลางของการพัฒนาซึ่งมีรากฐานความคิดมาจากการพัฒนาศึกษาและการทำงานโดยประชาชนกลุ่มด้อยโอกาสหรือกลุ่มผู้ถูกกดขี่จากสังคมซึ่งการวิจัยแบบมีส่วนร่วมนั้นจะเน้นการยุติระบบการผูกขาด ความรู้จากสถาบันการศึกษา สำหรับการวิจัยแบบมีส่วนร่วมโดยใช้ชุมชนเป็นฐานนั้นถือว่าเป็นวิวัฒนาการขั้นสูงสุดของงานวิจัยกลุ่มนี้ ซึ่งเน้นการมีส่วนร่วมอย่างแท้จริง ระหว่างนักวิจัยนอกพื้นที่กับชุมชนโดยมีเป้าหมายสูงสุดเพื่อการยุติความ เหลื่อมล้ำทางด้านสุขภาพ การวิจัยแบบมีส่วนร่วมโดยใช้ชุมชนเป็นฐานนั้นได้รับการยอมรับว่าเป็นกลุ่มวิธีวิจัยที่สามารถปลดปล่อยอิสรภาพทางด้านความคิดของชุมชนได้มากที่สุด ถือว่าเป็นวิวัฒนาการขั้นสูงสุดของกลุ่มงานวิจัยแบบมีส่วนร่วมและได้รับการยอมรับว่าเป็นมาตรฐานการปฏิบัติที่ดีที่สุด วัตถุประสงค์ของบทความนี้เพื่อแสดงให้เห็นถึงวิวัฒนาการและการพัฒนาการของกลุ่มงานวิจัยแบบมีส่วนร่วมซึ่งมีวัตถุประสงค์ในการปลดปล่อยความเป็นอิสระทางด้านความคิด ของชุมชนโดยไม่มีการผูกขาดจากสถาบันการศึกษา โดยในบทความนี้จะแสดงให้เห็นถึงวิวัฒนาการตั้งแต่งานวิจัยเชิงปฏิบัติการจนถึงงานวิจัยแบบมีส่วนร่วมโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานและนักการศึกษาด้านสาธารณสุขได้นำไปประยุกต์ใช้ในงานของตนเอง โดยมีเป้าหมายสูงสุดเพื่อยุติความเหลื่อมล้ำด้านสุขภาพของคนในประเทศ |
author2 |
Naruemon Auemaneekul |
author_facet |
Naruemon Auemaneekul Naruemon Auemaneekul นฤมล เอื้อมณีกูล |
format |
Article |
author |
Naruemon Auemaneekul นฤมล เอื้อมณีกูล |
author_sort |
Naruemon Auemaneekul |
title |
The Continuum from Action Research to Community Based Participation Research |
title_short |
The Continuum from Action Research to Community Based Participation Research |
title_full |
The Continuum from Action Research to Community Based Participation Research |
title_fullStr |
The Continuum from Action Research to Community Based Participation Research |
title_full_unstemmed |
The Continuum from Action Research to Community Based Participation Research |
title_sort |
continuum from action research to community based participation research |
publishDate |
2015 |
url |
https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/2485 |
_version_ |
1781414412271222784 |