ภาวะโภชนาการและสมรรถภาพทางกายของข้าราชการตำรวจผู้เข้ารับการอบรมหลักสูตรผู้กำกับการ
การวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างดัชนีมวลกายกับเพศ อายุ ความดันโลหิต เปอร์เซ็นต์ไขมันในร่างกาย และสมรรถภาพทางกายของข้าราชการตำรวจที่เข้ารับการอบรมหลักสูตรผู้กำกับการรุ่นที่ 60 และรุ่นที่ 61 จำนวน 320 คน ปี พ.ศ. 2551 โดยการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดความดันโลหิตการวัดเปอร์เซ็นต์ไขม...
Saved in:
Main Authors: | , , , , , |
---|---|
Format: | Article |
Language: | Thai |
Published: |
2015
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/2499 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | Thai |
id |
th-mahidol.2499 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Mahidol University |
building |
Mahidol University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Mahidol University Library |
collection |
Mahidol University Institutional Repository |
language |
Thai |
topic |
ดัชนีมวลกาย สมรรถภาพทางกาย ตำรวจผู้กำกับการ Body Mass Index (Bmi) Physical Fitness Police Superintendents Open Access article วารสารสาธารณสุขศาสตร์ Journal of Public Health |
spellingShingle |
ดัชนีมวลกาย สมรรถภาพทางกาย ตำรวจผู้กำกับการ Body Mass Index (Bmi) Physical Fitness Police Superintendents Open Access article วารสารสาธารณสุขศาสตร์ Journal of Public Health สิริประภา กลั่นกลิ่น ศิวรักษ์ กิจชนะไพบูลย์ บุญยัง ชัยศิริรัตน์ กัญญา บุญทองโท วัลลภา ไชยยงค์ Siriprapa Klunklin ภาวะโภชนาการและสมรรถภาพทางกายของข้าราชการตำรวจผู้เข้ารับการอบรมหลักสูตรผู้กำกับการ |
description |
การวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างดัชนีมวลกายกับเพศ อายุ ความดันโลหิต เปอร์เซ็นต์ไขมันในร่างกาย และสมรรถภาพทางกายของข้าราชการตำรวจที่เข้ารับการอบรมหลักสูตรผู้กำกับการรุ่นที่ 60 และรุ่นที่ 61 จำนวน 320 คน ปี พ.ศ. 2551 โดยการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดความดันโลหิตการวัดเปอร์เซ็นต์ไขมันในร่างกายและทดสอบสมรรถภาพทางกาย ประกอบด้วย แรงบีบมือ แรงเหยียดขา ความอ่อนตัว ความจุปอด และสมรรถภาพการใช้ออกซิเจน ใช้สถิติเชิงพรรรณนา และสถิติเชิงวิเคราะห์
ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีอายุเฉลี่ย 45.6 ± 5.3 ปี เป็นเพศชายร้อยละ 94.4 และมีดัชนีมวลกายระดับปกติ (BMI = 18.50-24.99 kg/m²) ร้อยละ 53.4 ภาวะน้ำหนักเกิน (BMI = 25.00-29.99 kg/m²) ร้อยละ 41.3 และโรคอ้วน (BMI ≥30 kg/m²) ร้อยละ 5.3 จากการทดสอบสมรรถภาพทางกาย เปรียบเทียบกับเกณฑ์มาตรฐานพบว่า แรงบีบมือ ความจุปอดและความอ่อนตัว อยู่ในระดับปานกลางมากที่สุด (ร้อยละ35.0, 39.1 และ 41.5 ตามลำดับ) แรงเหยียดขา อยู่ในระดับดีมาก ร้อยละ 41.3 ส่วนการใช้ออกซิเจนอยู่ในระดับต่ำมากร้อยละ 49.4 ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ พบว่า เพศชาย ระดับความดันโลหิตสูง และเปอร์เซ็นต์ไขมันในร่างกายมากมีความสัมพันธ์กับการมีระดับดัชนีมวลกายในระดับน้ำหนักเกินและโรคอ้วนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ จากการเปรียบเทียบความแตกต่างค่าเฉลี่ยของสมรรถภาพทางกายระหว่างกลุ่มที่มีดัชนีมวลกายปกติ น้ำหนักเกิน และโรคอ้วน พบว่า ค่าเฉลี่ยของแรงบีบมือ แรงเหยียดขา ความจุปอดและการใช้ออกซิเจน จะลดลงเมื่อระดับดัชนีมวลกายเพิ่มขึ้น ผลการวิจัยชี้ว่าควรเน้นให้มีการดูแลน้ำหนักตัวให้อยู่ในระดับปกติ และส่งเสริมสมรรถภาพทางกายสำหรับข้าราชการตำรวจระดับผู้กำกับการอย่างต่อเนื่อง
Training Course for Police Superintendents organized in 2008. The following
measurements were done with the studied subjects: body weight, height, blood pressure,
percentage of body’s fat, and physical fitness. Test of physical fitness included grip strength, leg
strength, flexibility, vital capacity, and maximum oxygen uptake. Descriptive statistics and
analytical statistics were used to analyze the data. It was found that average age of the participants was 45.6 ± 5.3 years; 94.4% were males; 53.4% had normal weight (BMI = 18.50-24.99 kg/m2
kg/m2 This study aimed to investigate the relationship between Body Mass Index and sex, age,
blood pressure, percentage of body fat, and physical fitness among 320 police officers attending
the 60th and the 61st ); and 5.3% were obese (BMI > 30 kg/m2 ); 41.3% were overweight (BMI = 25.00-29.99 ). The results of physical fitness test showed that the highest percentage of the participants had a “moderate” level of the grip strength, vital capacity, and flexibility (35.0%, 39.1%, and 41.5% respectively). The result of physical fitness tests revealed that most of the participants had very good level of leg strength (41.3%) but very low level of maximum oxygen uptake (49.4%). The relationship analysis showed
that the factors in regard to male, high blood pressure level, and high percentage of body fat
related significantly with the BMI at the overweight level and obesity. Comparison of the
physical fitness mean score among the participant groups with normal weight, overweight and
obesity showed a significant difference of the mean score of grip strength, leg strength, vital
capacity, and maximum oxygen uptake. The mean scores of grip strength, leg strength, vital capacity and maximum oxygen uptake was found to be decreased as the BMI increased. The research findings emphasize maintaining body weight at a regular level and physical fitness for the police at the level of police superintendents should be promoted continuously |
author2 |
สิริประภา กลั่นกลิ่น |
author_facet |
สิริประภา กลั่นกลิ่น สิริประภา กลั่นกลิ่น ศิวรักษ์ กิจชนะไพบูลย์ บุญยัง ชัยศิริรัตน์ กัญญา บุญทองโท วัลลภา ไชยยงค์ Siriprapa Klunklin |
format |
Article |
author |
สิริประภา กลั่นกลิ่น ศิวรักษ์ กิจชนะไพบูลย์ บุญยัง ชัยศิริรัตน์ กัญญา บุญทองโท วัลลภา ไชยยงค์ Siriprapa Klunklin |
author_sort |
สิริประภา กลั่นกลิ่น |
title |
ภาวะโภชนาการและสมรรถภาพทางกายของข้าราชการตำรวจผู้เข้ารับการอบรมหลักสูตรผู้กำกับการ |
title_short |
ภาวะโภชนาการและสมรรถภาพทางกายของข้าราชการตำรวจผู้เข้ารับการอบรมหลักสูตรผู้กำกับการ |
title_full |
ภาวะโภชนาการและสมรรถภาพทางกายของข้าราชการตำรวจผู้เข้ารับการอบรมหลักสูตรผู้กำกับการ |
title_fullStr |
ภาวะโภชนาการและสมรรถภาพทางกายของข้าราชการตำรวจผู้เข้ารับการอบรมหลักสูตรผู้กำกับการ |
title_full_unstemmed |
ภาวะโภชนาการและสมรรถภาพทางกายของข้าราชการตำรวจผู้เข้ารับการอบรมหลักสูตรผู้กำกับการ |
title_sort |
ภาวะโภชนาการและสมรรถภาพทางกายของข้าราชการตำรวจผู้เข้ารับการอบรมหลักสูตรผู้กำกับการ |
publishDate |
2015 |
url |
https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/2499 |
_version_ |
1781415225856098304 |
spelling |
th-mahidol.24992023-04-12T15:26:59Z ภาวะโภชนาการและสมรรถภาพทางกายของข้าราชการตำรวจผู้เข้ารับการอบรมหลักสูตรผู้กำกับการ Nutritional status and physical fitness of police officers attending training course for police superintendents สิริประภา กลั่นกลิ่น ศิวรักษ์ กิจชนะไพบูลย์ บุญยัง ชัยศิริรัตน์ กัญญา บุญทองโท วัลลภา ไชยยงค์ Siriprapa Klunklin สิริประภา กลั่นกลิ่น มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาโภชนวิทยา ดัชนีมวลกาย สมรรถภาพทางกาย ตำรวจผู้กำกับการ Body Mass Index (Bmi) Physical Fitness Police Superintendents Open Access article วารสารสาธารณสุขศาสตร์ Journal of Public Health การวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างดัชนีมวลกายกับเพศ อายุ ความดันโลหิต เปอร์เซ็นต์ไขมันในร่างกาย และสมรรถภาพทางกายของข้าราชการตำรวจที่เข้ารับการอบรมหลักสูตรผู้กำกับการรุ่นที่ 60 และรุ่นที่ 61 จำนวน 320 คน ปี พ.ศ. 2551 โดยการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดความดันโลหิตการวัดเปอร์เซ็นต์ไขมันในร่างกายและทดสอบสมรรถภาพทางกาย ประกอบด้วย แรงบีบมือ แรงเหยียดขา ความอ่อนตัว ความจุปอด และสมรรถภาพการใช้ออกซิเจน ใช้สถิติเชิงพรรรณนา และสถิติเชิงวิเคราะห์ ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีอายุเฉลี่ย 45.6 ± 5.3 ปี เป็นเพศชายร้อยละ 94.4 และมีดัชนีมวลกายระดับปกติ (BMI = 18.50-24.99 kg/m²) ร้อยละ 53.4 ภาวะน้ำหนักเกิน (BMI = 25.00-29.99 kg/m²) ร้อยละ 41.3 และโรคอ้วน (BMI ≥30 kg/m²) ร้อยละ 5.3 จากการทดสอบสมรรถภาพทางกาย เปรียบเทียบกับเกณฑ์มาตรฐานพบว่า แรงบีบมือ ความจุปอดและความอ่อนตัว อยู่ในระดับปานกลางมากที่สุด (ร้อยละ35.0, 39.1 และ 41.5 ตามลำดับ) แรงเหยียดขา อยู่ในระดับดีมาก ร้อยละ 41.3 ส่วนการใช้ออกซิเจนอยู่ในระดับต่ำมากร้อยละ 49.4 ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ พบว่า เพศชาย ระดับความดันโลหิตสูง และเปอร์เซ็นต์ไขมันในร่างกายมากมีความสัมพันธ์กับการมีระดับดัชนีมวลกายในระดับน้ำหนักเกินและโรคอ้วนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ จากการเปรียบเทียบความแตกต่างค่าเฉลี่ยของสมรรถภาพทางกายระหว่างกลุ่มที่มีดัชนีมวลกายปกติ น้ำหนักเกิน และโรคอ้วน พบว่า ค่าเฉลี่ยของแรงบีบมือ แรงเหยียดขา ความจุปอดและการใช้ออกซิเจน จะลดลงเมื่อระดับดัชนีมวลกายเพิ่มขึ้น ผลการวิจัยชี้ว่าควรเน้นให้มีการดูแลน้ำหนักตัวให้อยู่ในระดับปกติ และส่งเสริมสมรรถภาพทางกายสำหรับข้าราชการตำรวจระดับผู้กำกับการอย่างต่อเนื่อง Training Course for Police Superintendents organized in 2008. The following measurements were done with the studied subjects: body weight, height, blood pressure, percentage of body’s fat, and physical fitness. Test of physical fitness included grip strength, leg strength, flexibility, vital capacity, and maximum oxygen uptake. Descriptive statistics and analytical statistics were used to analyze the data. It was found that average age of the participants was 45.6 ± 5.3 years; 94.4% were males; 53.4% had normal weight (BMI = 18.50-24.99 kg/m2 kg/m2 This study aimed to investigate the relationship between Body Mass Index and sex, age, blood pressure, percentage of body fat, and physical fitness among 320 police officers attending the 60th and the 61st ); and 5.3% were obese (BMI > 30 kg/m2 ); 41.3% were overweight (BMI = 25.00-29.99 ). The results of physical fitness test showed that the highest percentage of the participants had a “moderate” level of the grip strength, vital capacity, and flexibility (35.0%, 39.1%, and 41.5% respectively). The result of physical fitness tests revealed that most of the participants had very good level of leg strength (41.3%) but very low level of maximum oxygen uptake (49.4%). The relationship analysis showed that the factors in regard to male, high blood pressure level, and high percentage of body fat related significantly with the BMI at the overweight level and obesity. Comparison of the physical fitness mean score among the participant groups with normal weight, overweight and obesity showed a significant difference of the mean score of grip strength, leg strength, vital capacity, and maximum oxygen uptake. The mean scores of grip strength, leg strength, vital capacity and maximum oxygen uptake was found to be decreased as the BMI increased. The research findings emphasize maintaining body weight at a regular level and physical fitness for the police at the level of police superintendents should be promoted continuously 2015-06-12T07:50:59Z 2017-06-30T08:40:35Z 2015-06-12T07:50:59Z 2017-06-30T08:40:35Z 2558-06-12 2554 Article วารสารสาธารณสุขศาสตร์. ปีที่ 41, ฉบับที่ 1 (2554), 17-28 0125-1678 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/2499 tha มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf |