ผลของโปรแกรมส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคอาหารและกิจกรรมทางกายในนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกิน โรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร
ปัจจัยสิ่งแวดล้อม การบริโภคอาหาร และการมีกิจกรรมทางการตามวิถีชีวิตแบบเมืองส่งผลต่อภาวะโภชนาการเกินในเด็ก การศึกษาครั้งนี้จึงมุ่งศึกษาผลของโปรแกรมส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคอาหารและกิจกรรมทางกายในนักเรียนที่มีภาวะ โภชนาการเกิน ศึกษากึ่งทดลองในนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-5 ที่มีภาวะโภชนาการเกิน โรงเร...
Saved in:
Main Authors: | , , , , |
---|---|
Format: | Article |
Language: | Thai |
Published: |
2015
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/2509 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | Thai |
Summary: | ปัจจัยสิ่งแวดล้อม การบริโภคอาหาร และการมีกิจกรรมทางการตามวิถีชีวิตแบบเมืองส่งผลต่อภาวะโภชนาการเกินในเด็ก การศึกษาครั้งนี้จึงมุ่งศึกษาผลของโปรแกรมส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคอาหารและกิจกรรมทางกายในนักเรียนที่มีภาวะ
โภชนาการเกิน ศึกษากึ่งทดลองในนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-5 ที่มีภาวะโภชนาการเกิน โรงเรียนในกลุ่มทดลอง 30 คน โรงเรียนกลุ่มเปรียบเทียบ 31 คน จัดกิจกรรมเรียนรู้เพิ่มความสามารถของตนเอง 3 สัปดาห์ และติดตามผล 4 สัปดาห์ เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถาม วิเคราะห์การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยแบบสองกลุ่มและการวัดความแปรปรวนแบบวัดซ้ำ ผลการศึกษาพบว่ากลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความสามารถของตนเองความคาดหวังในผลลัพธ์ และพฤติกรรมโดยรวมในระดับดีคิดเป็นร้อยละ 70.0 80.0 และ 30.0 ตามลำดับภายหลังการทดลองทันที และคิดเป็นร้อยละ 80.0 90.0 และ 16.7 ตามลำดับในระยะติดตามผลและคะแนนเฉลี่ยความสามารถของตนเอง ความคาดหวังในผลลัพธ์และพฤติกรรมการบริโภคอาหารและกิจกรรมทางกาย ดีกว่าก่อนการทดลองและดีกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .05) แต่พฤติกรรมการบริโภคอาหารและกิจกรรมทางกายอยู่ในระดับต่ำร้อยละ 16.6 และ 33.3 ตามลำดับ การประยุกต์ทฤษฎีปัญญาสังคมส่งผลต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารและกิจกรรมทางกายที่พึงประสงค์การนำโปรแกรมไปใช้ควรมีการประสานงานกับพยาบาลสาธารณสุข โรงเรียนและผู้ปกครองเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอย่างยั่งยืน
Environmental factors, consumtion
behaviors and physical activitie, these all had
infl uences upon overweight problems among
children. The purpose of this study was to
examine the effects of dietary and physical
activity behaviors promotion program for
over-weight students. The studied population
were overweight 9-11 years old of 4th-5th grade
from the experimental school (30 students)
and comparison school (31 students). The
intervention took 3 weeks and following up
at 4 weeks after the intervention program.
Data were collected by using self-administered
questionnaires. Statistics used for data analyzed
were independence t-test, and repeated measure
ANOVA. Results showed that at immediately
after the intervention, the experimental group
had mean scores of self-effi cacy, outcome
expectation, and dietary and physical activity
behaviors at a high level (70.0%, 80.0%, and
30.0%, respectively) and at the follow up
period, the mean scores were also at a high
level (80.0%, 90.0%, and 16.7%, respectively).
The experimental group had signifi cantly
higher mean scores of self effi cacy, outcome
expectation, and dietary and physical activity
behaviors immediately after the intervention
than before the intervention and higher than
the comparison group (p < .05). However,
16.6% of the mean score of dietary consumption
behaviors was at a low level, and 33.3%
of the mean score of physical activity behaviors
was also at a low level. Application of Social
Cognitive Theory to promote dietary consumption
and physical activity can cause the
desirable behaviors. Implementation of this
program for overweight students should have
well coordination among public health nurses,
teachers and parents to achieve continuous |
---|