เปรียบเทียบดัชนีมวลกาย ความเครียดเรื้อรัง ความแตกฉานทางสุขภาพ ความรับผิดชอบของผู้ป่วยและการรับรู้การดูแลแบบบุคคลเป็นศูนย์กลางระหว่างผู้ป่วยที่เป็นนิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะซ้ำและผู้ที่ไม่เป็นซ้ำ

วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาเปรียบเทียบดัชนีมวลกาย ความเครียดเรื้อรัง ความแตกฉานทางสุขภาพ ความรับผิดชอบของผู้ป่วย และการรับรู้การดูแลแบบบุคคลเป็นศูนย์กลาง ระหว่างผู้ป่วยที่เป็นนิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะซ้ำ และผู้ที่ไม่เป็นซ้ำ รูปแบบการวิจัย: การศึกษาเชิงบรรยายเปรียบเทียบ วิธีดำเนินการวิจัย: ผู้ป่วยน...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ธิมาภรณ์ ซื่อตรง, Thimaporn Suetrong, สุพร ดนัยดุษฎีกุล, Suporn Danaidutsadeekul, นภาพร วาณิชย์กุล, Napaporn Vanitkun, ตรี หาญประเสริฐพงษ์, Tree Hanprasertpong
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์
Format: Article
Language:Thai
Published: 2018
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/25173
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.25173
record_format dspace
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic ดัชนีมวลกาย
ความเครียดเรื้อรัง
ความแตกฉานทางสุขภาพ
ความรับผิดชอบของผู้ป่วย
การรับรู้การดูแลแบบบุคคลเป็นศูนย์กลาง
นิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะ
วารสารพยาบาลศาสตร์
Journal of Nursing Science
Open Access article
spellingShingle ดัชนีมวลกาย
ความเครียดเรื้อรัง
ความแตกฉานทางสุขภาพ
ความรับผิดชอบของผู้ป่วย
การรับรู้การดูแลแบบบุคคลเป็นศูนย์กลาง
นิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะ
วารสารพยาบาลศาสตร์
Journal of Nursing Science
Open Access article
ธิมาภรณ์ ซื่อตรง
Thimaporn Suetrong
สุพร ดนัยดุษฎีกุล
Suporn Danaidutsadeekul
นภาพร วาณิชย์กุล
Napaporn Vanitkun
ตรี หาญประเสริฐพงษ์
Tree Hanprasertpong
เปรียบเทียบดัชนีมวลกาย ความเครียดเรื้อรัง ความแตกฉานทางสุขภาพ ความรับผิดชอบของผู้ป่วยและการรับรู้การดูแลแบบบุคคลเป็นศูนย์กลางระหว่างผู้ป่วยที่เป็นนิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะซ้ำและผู้ที่ไม่เป็นซ้ำ
description วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาเปรียบเทียบดัชนีมวลกาย ความเครียดเรื้อรัง ความแตกฉานทางสุขภาพ ความรับผิดชอบของผู้ป่วย และการรับรู้การดูแลแบบบุคคลเป็นศูนย์กลาง ระหว่างผู้ป่วยที่เป็นนิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะซ้ำ และผู้ที่ไม่เป็นซ้ำ รูปแบบการวิจัย: การศึกษาเชิงบรรยายเปรียบเทียบ วิธีดำเนินการวิจัย: ผู้ป่วยนิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะที่มาติดตามอาการภายหลังรักษานิ่วครั้งแรกออกหมดมีระยะเวลาห่างจากการรักษาครั้งแรกไม่ต่ำกว่า 6 เดือน กลุ่มที่เป็นนิ่วซ้ำ และไม่เป็นซ้ำ กลุ่มละ 150 ราย รวมทั้งหมด 300 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลประกอบด้วย แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล แบบประเมินการรับรู้ความเครียด แบบประเมินความแตกฉานทางสุขภาพ แบบประเมินความรับผิดชอบของผู้ป่วย และ แบบประเมินการรับรู้การดูแลแบบบุคคลเป็นศูนย์กลาง วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนาและสถิติเปรียบเทียบ ผลการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างที่ไม่เป็นนิ่วซํ้ามีความเครียดเรื้อรังอยู่ในระดับตํ่า (X = 6.25, SD = 4.86) มีความแตกฉานทางสุขภาพเท่ากับ 439.21 (SD = 39.78) มีความรับผิดชอบของผู้ป่วยอยู่ในระดับสูง (X = 63.88, SD = 12.90) ในขณะกลุ่มที่เป็นนิ่วซํ้ามีความเครียดเรื้อรังระดับปานกลาง (X = 12.75, SD = 5.23) มีความแตกฉานทางสุขภาพเท่ากับ 336.07 (SD = 41.22 ) มีความรับผิดชอบของผู้ป่วยอยู่ในระดับต่ำ (X = 40.33, SD = 9.44) ซึ่งทั้งสามปัจจัยมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระหว่างกลุ่มเป็นนิ่วซํ้าและไม่เป็นซํ้า สำหรับดัชนีมวลกายและการรับรู้การดูแลแบบบุคคลเป็นศูนย์กลางระหว่างกลุ่มเป็นนิ่วซ้ำ และไม่เป็นซ้ำความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ สรุปและข้อเสนอแนะ: พยาบาลและบุคคลากรทางสุขภาพควรตระหนัก และให้การดูแลผู้ป่วยโดยลดความเครียดเรื้อรัง ส่งเสริมความแตกฉานทางสุขภาพ และความรับผิดชอบของผู้ป่วยทั้ง ขณะและภายหลังการรักษาเอานิ่วออก เพื่อป้องกันการกลับเป็นนิ่วซ้ำ
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์
ธิมาภรณ์ ซื่อตรง
Thimaporn Suetrong
สุพร ดนัยดุษฎีกุล
Suporn Danaidutsadeekul
นภาพร วาณิชย์กุล
Napaporn Vanitkun
ตรี หาญประเสริฐพงษ์
Tree Hanprasertpong
format Article
author ธิมาภรณ์ ซื่อตรง
Thimaporn Suetrong
สุพร ดนัยดุษฎีกุล
Suporn Danaidutsadeekul
นภาพร วาณิชย์กุล
Napaporn Vanitkun
ตรี หาญประเสริฐพงษ์
Tree Hanprasertpong
author_sort ธิมาภรณ์ ซื่อตรง
title เปรียบเทียบดัชนีมวลกาย ความเครียดเรื้อรัง ความแตกฉานทางสุขภาพ ความรับผิดชอบของผู้ป่วยและการรับรู้การดูแลแบบบุคคลเป็นศูนย์กลางระหว่างผู้ป่วยที่เป็นนิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะซ้ำและผู้ที่ไม่เป็นซ้ำ
title_short เปรียบเทียบดัชนีมวลกาย ความเครียดเรื้อรัง ความแตกฉานทางสุขภาพ ความรับผิดชอบของผู้ป่วยและการรับรู้การดูแลแบบบุคคลเป็นศูนย์กลางระหว่างผู้ป่วยที่เป็นนิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะซ้ำและผู้ที่ไม่เป็นซ้ำ
title_full เปรียบเทียบดัชนีมวลกาย ความเครียดเรื้อรัง ความแตกฉานทางสุขภาพ ความรับผิดชอบของผู้ป่วยและการรับรู้การดูแลแบบบุคคลเป็นศูนย์กลางระหว่างผู้ป่วยที่เป็นนิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะซ้ำและผู้ที่ไม่เป็นซ้ำ
title_fullStr เปรียบเทียบดัชนีมวลกาย ความเครียดเรื้อรัง ความแตกฉานทางสุขภาพ ความรับผิดชอบของผู้ป่วยและการรับรู้การดูแลแบบบุคคลเป็นศูนย์กลางระหว่างผู้ป่วยที่เป็นนิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะซ้ำและผู้ที่ไม่เป็นซ้ำ
title_full_unstemmed เปรียบเทียบดัชนีมวลกาย ความเครียดเรื้อรัง ความแตกฉานทางสุขภาพ ความรับผิดชอบของผู้ป่วยและการรับรู้การดูแลแบบบุคคลเป็นศูนย์กลางระหว่างผู้ป่วยที่เป็นนิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะซ้ำและผู้ที่ไม่เป็นซ้ำ
title_sort เปรียบเทียบดัชนีมวลกาย ความเครียดเรื้อรัง ความแตกฉานทางสุขภาพ ความรับผิดชอบของผู้ป่วยและการรับรู้การดูแลแบบบุคคลเป็นศูนย์กลางระหว่างผู้ป่วยที่เป็นนิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะซ้ำและผู้ที่ไม่เป็นซ้ำ
publishDate 2018
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/25173
_version_ 1763496852852834304
spelling th-mahidol.251732023-03-31T09:05:15Z เปรียบเทียบดัชนีมวลกาย ความเครียดเรื้อรัง ความแตกฉานทางสุขภาพ ความรับผิดชอบของผู้ป่วยและการรับรู้การดูแลแบบบุคคลเป็นศูนย์กลางระหว่างผู้ป่วยที่เป็นนิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะซ้ำและผู้ที่ไม่เป็นซ้ำ Comparisons of Body Mass Index, Chronic Stress, Health Literacy, Patient Engagement and Perception of Person-Centred Care between Recurrent and Non-Recurrent Urolithiasis Patients ธิมาภรณ์ ซื่อตรง Thimaporn Suetrong สุพร ดนัยดุษฎีกุล Suporn Danaidutsadeekul นภาพร วาณิชย์กุล Napaporn Vanitkun ตรี หาญประเสริฐพงษ์ Tree Hanprasertpong มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์ จังหวัดอุบลราชธานี. โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ ดัชนีมวลกาย ความเครียดเรื้อรัง ความแตกฉานทางสุขภาพ ความรับผิดชอบของผู้ป่วย การรับรู้การดูแลแบบบุคคลเป็นศูนย์กลาง นิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะ วารสารพยาบาลศาสตร์ Journal of Nursing Science Open Access article วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาเปรียบเทียบดัชนีมวลกาย ความเครียดเรื้อรัง ความแตกฉานทางสุขภาพ ความรับผิดชอบของผู้ป่วย และการรับรู้การดูแลแบบบุคคลเป็นศูนย์กลาง ระหว่างผู้ป่วยที่เป็นนิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะซ้ำ และผู้ที่ไม่เป็นซ้ำ รูปแบบการวิจัย: การศึกษาเชิงบรรยายเปรียบเทียบ วิธีดำเนินการวิจัย: ผู้ป่วยนิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะที่มาติดตามอาการภายหลังรักษานิ่วครั้งแรกออกหมดมีระยะเวลาห่างจากการรักษาครั้งแรกไม่ต่ำกว่า 6 เดือน กลุ่มที่เป็นนิ่วซ้ำ และไม่เป็นซ้ำ กลุ่มละ 150 ราย รวมทั้งหมด 300 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลประกอบด้วย แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล แบบประเมินการรับรู้ความเครียด แบบประเมินความแตกฉานทางสุขภาพ แบบประเมินความรับผิดชอบของผู้ป่วย และ แบบประเมินการรับรู้การดูแลแบบบุคคลเป็นศูนย์กลาง วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนาและสถิติเปรียบเทียบ ผลการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างที่ไม่เป็นนิ่วซํ้ามีความเครียดเรื้อรังอยู่ในระดับตํ่า (X = 6.25, SD = 4.86) มีความแตกฉานทางสุขภาพเท่ากับ 439.21 (SD = 39.78) มีความรับผิดชอบของผู้ป่วยอยู่ในระดับสูง (X = 63.88, SD = 12.90) ในขณะกลุ่มที่เป็นนิ่วซํ้ามีความเครียดเรื้อรังระดับปานกลาง (X = 12.75, SD = 5.23) มีความแตกฉานทางสุขภาพเท่ากับ 336.07 (SD = 41.22 ) มีความรับผิดชอบของผู้ป่วยอยู่ในระดับต่ำ (X = 40.33, SD = 9.44) ซึ่งทั้งสามปัจจัยมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระหว่างกลุ่มเป็นนิ่วซํ้าและไม่เป็นซํ้า สำหรับดัชนีมวลกายและการรับรู้การดูแลแบบบุคคลเป็นศูนย์กลางระหว่างกลุ่มเป็นนิ่วซ้ำ และไม่เป็นซ้ำความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ สรุปและข้อเสนอแนะ: พยาบาลและบุคคลากรทางสุขภาพควรตระหนัก และให้การดูแลผู้ป่วยโดยลดความเครียดเรื้อรัง ส่งเสริมความแตกฉานทางสุขภาพ และความรับผิดชอบของผู้ป่วยทั้ง ขณะและภายหลังการรักษาเอานิ่วออก เพื่อป้องกันการกลับเป็นนิ่วซ้ำ Purposes: To compare body mass index, chronic stress, health literacy, patient engagement and perception of person-centred care between recurrent and non-recurrent urolithiasis patients. Design: Comparative descriptive research design. Methods: The samples consisted of patients with urolithiasis after complete removal of stone at least six months, 150 recurrent and 150 non-recurrent. Data were collected using 5 questionnaires: Personal data record form, Perceived Stress scale, Health Literacy Questionnaire, Patient Activation Measure, and the Consultation Care Measure. Data were analyzed using descriptive statistics and a comparison Z-test. Main Findings: The findings showed that non-recurrent urolithiasis patients perceived chronic stress at low level (X = 6.25, SD = 4.86); an average score of health literacy was 439.21 (SD = 39.78), patient engagement was high level (X = 63.88, SD = 12.90) while those with recurrent urolithiasis perceived chronic stress at medium level (X = 12.75, SD = 5.23), an average score of health literacy was 336.07 (SD = 41.22 ), patient engagement was low level (X = 40.33, SD = 9.44). All of the three factors were significant different (p < .05) between two groups. While body mass index and the perception of a person-centred care were not significant different between two groups. Conclusion and recommendations: Nurses should organize health-promoting activities for urolithiasis patients during and after stone removal using various methods to reduce chronic stress, promote health literacy and patient engagement in order to prevent recurrent urolithiasis. 2018-08-24T08:39:39Z 2018-08-24T08:39:39Z 2561-08-24 2559 Article วารสารพยาบาลศาสตร์. ปีที่ 34, ฉบับที่ 2 ( เม.ย. - มิ.ย. 2559), 80-91 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/25173 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf