อาการและภาวะการทำหน้าที่ในผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดทำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ: ความแตกต่างระหว่างเพศ

วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างเพศหญิง และชายต่ออาการความผิดปกติและภาวะการทำหน้าที่ในระยะก่อนผ่าตัดในผู้ป่วยที่จะได้รับการผ่าตัดทำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ รูปแบบการวิจัย: การวิจัยเชิงบรรยายเปรียบเทียบ วิธีดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจที่จะได้รั...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: อรชุมา นากรณ์, Onchuma Nakon, ศิริอร สินธุ, Siriorn Sindhu
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์
Format: Article
Language:Thai
Published: 2018
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/25213
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.25213
record_format dspace
spelling th-mahidol.252132023-03-31T01:02:56Z อาการและภาวะการทำหน้าที่ในผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดทำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ: ความแตกต่างระหว่างเพศ Symptoms and Functional Status in Patients with Coronary Artery Bypass Grafting: Gender Differences อรชุมา นากรณ์ Onchuma Nakon ศิริอร สินธุ Siriorn Sindhu มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์ การผ่าตัดทำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ อาการความผิดปกติ ภาวะการทำหน้าที่ วารสารพยาบาลศาสตร์ Open Access article Journal of Nursing Science วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างเพศหญิง และชายต่ออาการความผิดปกติและภาวะการทำหน้าที่ในระยะก่อนผ่าตัดในผู้ป่วยที่จะได้รับการผ่าตัดทำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ รูปแบบการวิจัย: การวิจัยเชิงบรรยายเปรียบเทียบ วิธีดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจที่จะได้รับการผ่าตัดทำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจแบบนัดหมายล่วงหน้า อายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป จำนวน 64 ราย ที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิแห่งหนึ่งคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง แบ่งเป็นเพศหญิง 32 ราย และเพศชาย 32 ราย เก็บข้อมูลในระยะ 1 วันก่อนผ่าตัดโดยใช้แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล และการเจ็บป่วย ประเมินอาการความผิดปกติที่พบก่อนผ่าตัดโดยใช้แบบประเมินความถี่ของอาการที่พบ (symptom frequency) และประเมินภาวะการทำหน้าที่ทางด้านร่างกายโดยใช้แบบประเมินผลกระทบของความเจ็บป่วย (Sickness Impact Profile: SIP) ในหมวดของการเคลื่อนย้าย การเคลื่อนไหวร่างกายการดูแลตนเองและการเคลื่อนไหว วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณา และวิเคราะห์เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างเพศโดยใช้สถิติ independent t-test และ Man Whitney U test ผลการวิจัย: ผู้ป่วยเพศหญิงมีคะแนนความถี่ของอาการความผิดปกติที่พบในระยะก่อนผ่าตัดมากกว่าเพศชายอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (M =36.72, SD =11.22 และ M = 30.50, SD = 11.13, p <. 05) และมีภาวะการทำหน้าที่ทางด้านร่างกายน้อยกว่าเพศชายอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (M = 8.24, SD = 8.87 และ M = 4.51, SD = 5.99, p < .05) สรุปและข้อเสนอแนะ: ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจเพศหญิงมักมีอาการความผิดปกติที่พบในระยะก่อนผ่าตัดทำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจได้บ่อยและมากกว่าเพศชาย ส่งผลกระทบทำให้ภาวะการทำหน้าที่ทางกายลดลง ดังนั้นการดูแลผู้ป่วยเพื่อเตรียมความพร้อมสำหรับการผ่าตัดทำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ พยาบาลควรคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างเพศและวางแผนให้การพยาบาลที่เหมาะสมเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน Purpose: To examine the differences between male and female patients with coronary artery bypass grafting in symptom disorders and functional status. Design: Descriptive study. Methods: The sample consisted of 64 coronary artery disease patients both male and female who were older than 18 years of age and were admitted to a tertiary hospital for elective coronary artery bypass grafting. The subjects were recruited by purposive sampling with 32 males and 32 females. Personal data were collected by demographic questionnaires and clinical data. Symptom disorders before surgery were assessed by symptom frequency. Functional status in dimension of ambulation, mobility, body care and movement were measured by the Sickness Impact Profile. Data were analyzed using descriptive statistics, independent t-test and Man Whitney U test for analyzed comparison between genders. Main findings: Women reported significant symptom disorders before surgery more frequently than men (M = 36.72, SD = 11.22 vs. M = 30.50, SD = 11.13, p <. 05). Women had significant functional status lower than men (M = 8.24, SD = 8.87; M = 4.51, SD = 5.99, p < .05). Conclusion and Recommendations: Coronary artery disease in women who waiting list for coronary artery bypass grafting had a higher and often of symptom frequency before surgery than men. So, the differences between genders should be recognized to provide nursing care for preparation patients undergoing coronary artery bypass grafting and appropriate nursing care plan for prevent complication. โครงการวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากกองทุน ซี เอ็ม บี คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล 2018-08-29T09:22:01Z 2018-08-29T09:22:01Z 2561-08-29 2559 Article วารสารพยาบาลศาสตร์. ปีที่ 34, ฉบับที่ 3 (ก.ค. - พ.ย. 2559), 94-105 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/25213 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic การผ่าตัดทำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ
อาการความผิดปกติ
ภาวะการทำหน้าที่
วารสารพยาบาลศาสตร์
Open Access article
Journal of Nursing Science
spellingShingle การผ่าตัดทำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ
อาการความผิดปกติ
ภาวะการทำหน้าที่
วารสารพยาบาลศาสตร์
Open Access article
Journal of Nursing Science
อรชุมา นากรณ์
Onchuma Nakon
ศิริอร สินธุ
Siriorn Sindhu
อาการและภาวะการทำหน้าที่ในผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดทำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ: ความแตกต่างระหว่างเพศ
description วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างเพศหญิง และชายต่ออาการความผิดปกติและภาวะการทำหน้าที่ในระยะก่อนผ่าตัดในผู้ป่วยที่จะได้รับการผ่าตัดทำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ รูปแบบการวิจัย: การวิจัยเชิงบรรยายเปรียบเทียบ วิธีดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจที่จะได้รับการผ่าตัดทำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจแบบนัดหมายล่วงหน้า อายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป จำนวน 64 ราย ที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิแห่งหนึ่งคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง แบ่งเป็นเพศหญิง 32 ราย และเพศชาย 32 ราย เก็บข้อมูลในระยะ 1 วันก่อนผ่าตัดโดยใช้แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล และการเจ็บป่วย ประเมินอาการความผิดปกติที่พบก่อนผ่าตัดโดยใช้แบบประเมินความถี่ของอาการที่พบ (symptom frequency) และประเมินภาวะการทำหน้าที่ทางด้านร่างกายโดยใช้แบบประเมินผลกระทบของความเจ็บป่วย (Sickness Impact Profile: SIP) ในหมวดของการเคลื่อนย้าย การเคลื่อนไหวร่างกายการดูแลตนเองและการเคลื่อนไหว วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณา และวิเคราะห์เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างเพศโดยใช้สถิติ independent t-test และ Man Whitney U test ผลการวิจัย: ผู้ป่วยเพศหญิงมีคะแนนความถี่ของอาการความผิดปกติที่พบในระยะก่อนผ่าตัดมากกว่าเพศชายอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (M =36.72, SD =11.22 และ M = 30.50, SD = 11.13, p <. 05) และมีภาวะการทำหน้าที่ทางด้านร่างกายน้อยกว่าเพศชายอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (M = 8.24, SD = 8.87 และ M = 4.51, SD = 5.99, p < .05) สรุปและข้อเสนอแนะ: ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจเพศหญิงมักมีอาการความผิดปกติที่พบในระยะก่อนผ่าตัดทำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจได้บ่อยและมากกว่าเพศชาย ส่งผลกระทบทำให้ภาวะการทำหน้าที่ทางกายลดลง ดังนั้นการดูแลผู้ป่วยเพื่อเตรียมความพร้อมสำหรับการผ่าตัดทำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ พยาบาลควรคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างเพศและวางแผนให้การพยาบาลที่เหมาะสมเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์
อรชุมา นากรณ์
Onchuma Nakon
ศิริอร สินธุ
Siriorn Sindhu
format Article
author อรชุมา นากรณ์
Onchuma Nakon
ศิริอร สินธุ
Siriorn Sindhu
author_sort อรชุมา นากรณ์
title อาการและภาวะการทำหน้าที่ในผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดทำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ: ความแตกต่างระหว่างเพศ
title_short อาการและภาวะการทำหน้าที่ในผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดทำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ: ความแตกต่างระหว่างเพศ
title_full อาการและภาวะการทำหน้าที่ในผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดทำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ: ความแตกต่างระหว่างเพศ
title_fullStr อาการและภาวะการทำหน้าที่ในผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดทำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ: ความแตกต่างระหว่างเพศ
title_full_unstemmed อาการและภาวะการทำหน้าที่ในผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดทำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ: ความแตกต่างระหว่างเพศ
title_sort อาการและภาวะการทำหน้าที่ในผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดทำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ: ความแตกต่างระหว่างเพศ
publishDate 2018
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/25213
_version_ 1763492895417958400