การมีส่วนร่วมในยุทธวิธีที่เป็นประโยชน์ในการป้องกันโรคไข้เลือดออกของประชากรตำบลท้ายบ้าน อำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ

การวิจัยนี้เป็นการศึกษาแบบเชิงพรรณนา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะการมีส่วนร่วมในการป้องกันโรคไข้เลือดออกของประชากรตำบลท้ายบ้าน อำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามๆ หัวหน้าครัวเรือนที่มีอำนาจตัดสินใจในการมีส่วนเข้าร่วมกิจกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออกและอาศัยอยู่ในตำบลท...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ชาญชุติ จรรยาสัณห์, ศักดิ์ชัย สามเตี้ย, ดุสิต สุจิรารัตน์, โชคชัย หมั่นแสวงทรัพย์, Charnchudhi Chanyasanha, Dusit Sujirarat, Chokchai Munsawaengsub
Format: Article
Language:Thai
Published: 2015
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/2546
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.2546
record_format dspace
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic การมีส่วนร่วม
การป้องกัน
โรคไข้เลือดออก
Participation
Prevention
Dengue
Open Access article
วารสารสาธารณสุขศาสตร์
Journal of Public Health
spellingShingle การมีส่วนร่วม
การป้องกัน
โรคไข้เลือดออก
Participation
Prevention
Dengue
Open Access article
วารสารสาธารณสุขศาสตร์
Journal of Public Health
ชาญชุติ จรรยาสัณห์
ศักดิ์ชัย สามเตี้ย
ดุสิต สุจิรารัตน์
โชคชัย หมั่นแสวงทรัพย์
Charnchudhi Chanyasanha
Dusit Sujirarat
Chokchai Munsawaengsub
การมีส่วนร่วมในยุทธวิธีที่เป็นประโยชน์ในการป้องกันโรคไข้เลือดออกของประชากรตำบลท้ายบ้าน อำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ
description การวิจัยนี้เป็นการศึกษาแบบเชิงพรรณนา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะการมีส่วนร่วมในการป้องกันโรคไข้เลือดออกของประชากรตำบลท้ายบ้าน อำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามๆ หัวหน้าครัวเรือนที่มีอำนาจตัดสินใจในการมีส่วนเข้าร่วมกิจกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออกและอาศัยอยู่ในตำบลท้ายบ้าน รวม 400 คน ศึกษาระหว่างเดือนกรกฎาคม ถึง สิงหาคม 2553 ใช้สถิติเชิงพรรณนาการมีส่วนร่วมของประชากรในการป้องกันโรคไข้เลือดออกมี 4 รูปแบบ ได้แก่ (1) การมีส่วนร่วมในการมีอำนาจตัดสินใจต่อการป้องกันโรคไข้เลือดออก โดยประมาณหนึ่งในสามของประชากรได้ปรึกษาพูดจากับครอบครัวในด้านการป้องกันโรค (ร้อยละ 51.0) (2) การมีส่วนร่วมโดยการปฏิบัติในกิจกรรมต่างๆ เพื่อลดการติดเชื้อ เกือบ ครึ่งหนึ่งของประชากรที่ศึกษาดำเนินการอย่างสม่ำเสมอในด้านต่างๆ โดยที่ดำเนินการมากที่สุดเป็นประจำ คือการทำความสะอาดบ้านเรือนและจัดบ้านไม่ให้มีมุมมืด (ร้อยละ 80.7) (3) การมีส่วนร่วมโดยได้รับผลประโยชน์จากกิจกรรมต่างๆ พบว่าประชากรเกินครึ่งหนึ่งได้รับผลประโยชน์ในด้านต่างๆ โดยสมาชิกในครอบครัวได้รับความรู้ในเรื่องโรคไข้เลือดออกอย่างสม่ำเสมอ (ร้อยละ 66.3) และ (4) การมีส่วนร่วมในการประเมินผลจากกิจกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออก พบว่าประมาณครึ่งหนึ่งมีการดำเนินในด้านต่างๆโดยได้รับความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก จากสื่อรูปแบบต่างๆ การอบรม และจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุข (ร้อยละ 56.7) ผลสรุปพบว่าการให้ความร่วมมือของประชากรในพื้นที่ศึกษาในภาพรวม อยู่ในเกณฑ์ปานกลางขึ้นไป (ร้อยละ 92.5) This descriptive study was conducted to determine the participation in dengue prevention of people living in the Sub-district of Tai-Ban, Muang Samut Prakan District, Samut Prakan Province. All study data was collected utilizing a structured questionnaire. Respondents totally numbered 400 were the heads of the households in the Sub-district of Tai-Ban and possessed the power to make decisions regarding dengue prevention and control. Study was conducted between July and August of 2010. Simple statistics were used in this study.Four areas of participation in dengue prevention were identified. The first area involved participating in decisions concerning on dengue prevention activities. This was found that almost one third of the population always consult and discuss in the family concern on dengue prevention (51.0%). Second area involved participating in physical practices on dengue prevention. Almost half of them engaged in many categories for the prevention of dengue and found highest in being regular house cleaning and arrange indoor not have the dark place corner (80.7%). Third area involved participating in benefits from having engaged activities on dengue prevention. It was found that half of the population received benefit in many categories. Their families always gain the knowledge on dengue hemorrhagic fever which was the highest found (66.3%). Fourth area involved participating on dengue prevention by evaluation. It was found that half of them always doing in many categories. The evaluation highest was evaluated from the knowledge on dengue hemorrhagic fever from multimedia sources, training and health volunteers (56.7%). Results of this study indicated that 92.5% of those participating in dengue prevention engage at medium up levels.
author2 ชาญชุติ จรรยาสัณห์
author_facet ชาญชุติ จรรยาสัณห์
ชาญชุติ จรรยาสัณห์
ศักดิ์ชัย สามเตี้ย
ดุสิต สุจิรารัตน์
โชคชัย หมั่นแสวงทรัพย์
Charnchudhi Chanyasanha
Dusit Sujirarat
Chokchai Munsawaengsub
format Article
author ชาญชุติ จรรยาสัณห์
ศักดิ์ชัย สามเตี้ย
ดุสิต สุจิรารัตน์
โชคชัย หมั่นแสวงทรัพย์
Charnchudhi Chanyasanha
Dusit Sujirarat
Chokchai Munsawaengsub
author_sort ชาญชุติ จรรยาสัณห์
title การมีส่วนร่วมในยุทธวิธีที่เป็นประโยชน์ในการป้องกันโรคไข้เลือดออกของประชากรตำบลท้ายบ้าน อำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ
title_short การมีส่วนร่วมในยุทธวิธีที่เป็นประโยชน์ในการป้องกันโรคไข้เลือดออกของประชากรตำบลท้ายบ้าน อำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ
title_full การมีส่วนร่วมในยุทธวิธีที่เป็นประโยชน์ในการป้องกันโรคไข้เลือดออกของประชากรตำบลท้ายบ้าน อำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ
title_fullStr การมีส่วนร่วมในยุทธวิธีที่เป็นประโยชน์ในการป้องกันโรคไข้เลือดออกของประชากรตำบลท้ายบ้าน อำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ
title_full_unstemmed การมีส่วนร่วมในยุทธวิธีที่เป็นประโยชน์ในการป้องกันโรคไข้เลือดออกของประชากรตำบลท้ายบ้าน อำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ
title_sort การมีส่วนร่วมในยุทธวิธีที่เป็นประโยชน์ในการป้องกันโรคไข้เลือดออกของประชากรตำบลท้ายบ้าน อำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ
publishDate 2015
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/2546
_version_ 1781415806423269376
spelling th-mahidol.25462023-04-12T15:30:55Z การมีส่วนร่วมในยุทธวิธีที่เป็นประโยชน์ในการป้องกันโรคไข้เลือดออกของประชากรตำบลท้ายบ้าน อำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ The participation on dengue prevention tactics utilized by residence within Tai-Ban Sub-District Muang Samut Prakan District Samut Prakan Province ชาญชุติ จรรยาสัณห์ ศักดิ์ชัย สามเตี้ย ดุสิต สุจิรารัตน์ โชคชัย หมั่นแสวงทรัพย์ Charnchudhi Chanyasanha Dusit Sujirarat Chokchai Munsawaengsub ชาญชุติ จรรยาสัณห์ มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาจุลชีววิทยา มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาระบาดวิทยา มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาอนามัยครอบครัว การมีส่วนร่วม การป้องกัน โรคไข้เลือดออก Participation Prevention Dengue Open Access article วารสารสาธารณสุขศาสตร์ Journal of Public Health การวิจัยนี้เป็นการศึกษาแบบเชิงพรรณนา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะการมีส่วนร่วมในการป้องกันโรคไข้เลือดออกของประชากรตำบลท้ายบ้าน อำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามๆ หัวหน้าครัวเรือนที่มีอำนาจตัดสินใจในการมีส่วนเข้าร่วมกิจกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออกและอาศัยอยู่ในตำบลท้ายบ้าน รวม 400 คน ศึกษาระหว่างเดือนกรกฎาคม ถึง สิงหาคม 2553 ใช้สถิติเชิงพรรณนาการมีส่วนร่วมของประชากรในการป้องกันโรคไข้เลือดออกมี 4 รูปแบบ ได้แก่ (1) การมีส่วนร่วมในการมีอำนาจตัดสินใจต่อการป้องกันโรคไข้เลือดออก โดยประมาณหนึ่งในสามของประชากรได้ปรึกษาพูดจากับครอบครัวในด้านการป้องกันโรค (ร้อยละ 51.0) (2) การมีส่วนร่วมโดยการปฏิบัติในกิจกรรมต่างๆ เพื่อลดการติดเชื้อ เกือบ ครึ่งหนึ่งของประชากรที่ศึกษาดำเนินการอย่างสม่ำเสมอในด้านต่างๆ โดยที่ดำเนินการมากที่สุดเป็นประจำ คือการทำความสะอาดบ้านเรือนและจัดบ้านไม่ให้มีมุมมืด (ร้อยละ 80.7) (3) การมีส่วนร่วมโดยได้รับผลประโยชน์จากกิจกรรมต่างๆ พบว่าประชากรเกินครึ่งหนึ่งได้รับผลประโยชน์ในด้านต่างๆ โดยสมาชิกในครอบครัวได้รับความรู้ในเรื่องโรคไข้เลือดออกอย่างสม่ำเสมอ (ร้อยละ 66.3) และ (4) การมีส่วนร่วมในการประเมินผลจากกิจกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออก พบว่าประมาณครึ่งหนึ่งมีการดำเนินในด้านต่างๆโดยได้รับความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก จากสื่อรูปแบบต่างๆ การอบรม และจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุข (ร้อยละ 56.7) ผลสรุปพบว่าการให้ความร่วมมือของประชากรในพื้นที่ศึกษาในภาพรวม อยู่ในเกณฑ์ปานกลางขึ้นไป (ร้อยละ 92.5) This descriptive study was conducted to determine the participation in dengue prevention of people living in the Sub-district of Tai-Ban, Muang Samut Prakan District, Samut Prakan Province. All study data was collected utilizing a structured questionnaire. Respondents totally numbered 400 were the heads of the households in the Sub-district of Tai-Ban and possessed the power to make decisions regarding dengue prevention and control. Study was conducted between July and August of 2010. Simple statistics were used in this study.Four areas of participation in dengue prevention were identified. The first area involved participating in decisions concerning on dengue prevention activities. This was found that almost one third of the population always consult and discuss in the family concern on dengue prevention (51.0%). Second area involved participating in physical practices on dengue prevention. Almost half of them engaged in many categories for the prevention of dengue and found highest in being regular house cleaning and arrange indoor not have the dark place corner (80.7%). Third area involved participating in benefits from having engaged activities on dengue prevention. It was found that half of the population received benefit in many categories. Their families always gain the knowledge on dengue hemorrhagic fever which was the highest found (66.3%). Fourth area involved participating on dengue prevention by evaluation. It was found that half of them always doing in many categories. The evaluation highest was evaluated from the knowledge on dengue hemorrhagic fever from multimedia sources, training and health volunteers (56.7%). Results of this study indicated that 92.5% of those participating in dengue prevention engage at medium up levels. 2015-07-14T02:45:46Z 2017-07-12T07:52:42Z 2015-07-14T02:45:46Z 2017-07-12T07:52:42Z 2558-07-14 2554 Article วารสารสาธารณสุขศาสตร์. ฉบับพิเศษ (2554), 64-75 0125-1678 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/2546 tha มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf