วิถีชีวิตของผู้สูงอายุหญิงที่เลี้ยงหลานในเขตชนบทภาคเหนือของประเทศไทย

การศึกษาเชิงคุณภาพครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิถีชีวิตของผู้สูงอายุหญิงที่เลี้ยงหลานในเขตชนบทภาคเหนือในประเด็นเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเอง การปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน ปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้น ความสุขในการเลี้ยงหลาน รวมถึงความคาดหวังที่มีต่อเด็ก ครอบครัวและชุมชน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: สุธรรม นันทมงคลชัย, พิมพ์สุรางค์ เตชะบุญเสริมศักด์, โชคชัย หมั่นแสวงทรัพย์, อาภาพร เผ่าวัฒนา, Sutham Nanthamongkolchai, Pimsurang Taechaboonsermsak, Chokchai Munsawaengsub, Arpaporn Powwattana
Format: Article
Language:Thai
Published: 2015
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/2551
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.2551
record_format dspace
spelling th-mahidol.25512023-04-12T15:28:49Z วิถีชีวิตของผู้สูงอายุหญิงที่เลี้ยงหลานในเขตชนบทภาคเหนือของประเทศไทย The way of life of the elderly female who take care of grandchild in rural area of the northern Thailand สุธรรม นันทมงคลชัย พิมพ์สุรางค์ เตชะบุญเสริมศักด์ โชคชัย หมั่นแสวงทรัพย์ อาภาพร เผ่าวัฒนา Sutham Nanthamongkolchai Pimsurang Taechaboonsermsak Chokchai Munsawaengsub Arpaporn Powwattana สุธรรม นันทมงคลชัย มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาอนามัยครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาพยาบาลสาธารณสุข วิถีชีวิต ผู้สูงอายุ ปัญหาในการเลี้ยงหลาน ความคาดหวังต่อเด็ก Way of Life Elderly Female Grandchild Rearing Problem Expectation of Child Open Access article วารสารสาธารณสุขศาสตร์ Journal of Public Health การศึกษาเชิงคุณภาพครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิถีชีวิตของผู้สูงอายุหญิงที่เลี้ยงหลานในเขตชนบทภาคเหนือในประเด็นเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเอง การปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน ปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้น ความสุขในการเลี้ยงหลาน รวมถึงความคาดหวังที่มีต่อเด็ก ครอบครัวและชุมชน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกระหว่างเดือนเมษายน-กรกฎาคม พ.ศ.2552 กลุ่มตัวอย่างคือผู้สูงอายุหญิงที่เลี้ยงหลานซึ่งมีอายุระหว่าง 1-8 ปี จำนวน 26 คน ที่อาศัยอยู่ในเขตชนบทภาคเหนือของประเทศไทย สุ่มตัวอย่างโดยวิธีการสุ่มแบบเจาะจง วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า ผู้สูงอายุหญิงที่เลี้ยงหลานในเขตชนบทภาคเหนือ ทั้ง 26 คน มีสุขภาพกายที่ดี สามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำวันและเลี้ยงหลานได้ตามปกติ ส่วนใหญ่ให้ความสำคัญในการดูแลส่งเสริมสุขภาพตนเอง โดยเฉพาะเรื่องการรับประทานอาหารและการออกกำลังกาย ผู้สูงอายุที่เลี้ยงหลานอายุต่ำกว่า 3 ปี มักจะใช้เวลาส่วนใหญ่ในการดูแลหลานทั้งในเรื่องการรับประทานอาหาร การนอน การเล่น ปัญหาที่สำคัญในการเลี้ยงหลานคือปัญหาค่าใช้จ่ายในการเลี้ยงหลานและปัญหาการเจ็บป่วยของเด็ก ผู้สูงอายุทุกคนมีความสุขในการเลี้ยงหลาน โดยเฉพาะผู้สูงอายุที่เลี้ยงหลานในวัยเด็กเล็กอายุ 1-3 ปี หรือเด็กที่เป็นหลานคนแรกในครอบครัว ผู้สูงอายุหญิงที่เลี้ยงหลานเกือบทั้งหมดคาดหวังให้เด็กเป็นเด็กดี เรียนหนังสือเก่ง มีงานทำที่ดี มีความมั่นคง และหวังให้ครอบครัวอบอุ่นมีโอกาสได้อยู่พร้อมหน้ากันระหว่าง พ่อ แม่ ลูก ผลการศึกษานี้เสนอแนะให้หน่วยงานในระดับท้องถิ่นเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมทางสังคมและสวัสดิการให้กับผู้สูงอายุให้ครอบคลุมและทั่วถึงมากขึ้น The qualitative study aimed to study the way of life of elderly female who took care of the grandchild in rural area of the Northern Thailand on issues relating to their self health care, daily activity, obstacle, and happiness in grandchild rearing including the expectation to the children, family, and community. Data were collected by in-dept interview from April to July, 2009. The samples were 26 elderly females who took care their 1-8 years old grandchildren and living in rural area of the Northern Thailand, selected by purposive sampling. Data were analyzed by content analysis. The results showed that all 26 elderly females were healthy and were able to perform daily living and rearing kids properly. Most of them concerned much about self health promoting particularly about diet and exercise. Elderly took care kids under 3 years were usually spent most of the time for caring about eating, sleeping, and playing of the children. The major problems in rearing grandchild were the caring expenditure and child’s illness. All elderly were happy to rear the children particularly for those with 1-3 years old grandchildren or the first descendant of the family. Almost all of the elderly expected their children to be good, intelligent, getting good job, life stability, and having warm family by living together of all family members. The study suggested that the local organization should take part in organizing the community activities and social welfare for the elderly with more coverage and generalized. 2015-08-17T07:24:07Z 2017-07-12T07:52:43Z 2015-08-17T07:24:07Z 2017-07-12T07:52:43Z 2015-08-17 2554 Article วารสารสาธารณสุขศาสตร์. ปีที่ 41, ฉบับที่ 1 (2554), 29-38 0125-1678 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/2551 tha มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic วิถีชีวิต
ผู้สูงอายุ
ปัญหาในการเลี้ยงหลาน
ความคาดหวังต่อเด็ก
Way of Life
Elderly Female
Grandchild Rearing Problem
Expectation of Child
Open Access article
วารสารสาธารณสุขศาสตร์
Journal of Public Health
spellingShingle วิถีชีวิต
ผู้สูงอายุ
ปัญหาในการเลี้ยงหลาน
ความคาดหวังต่อเด็ก
Way of Life
Elderly Female
Grandchild Rearing Problem
Expectation of Child
Open Access article
วารสารสาธารณสุขศาสตร์
Journal of Public Health
สุธรรม นันทมงคลชัย
พิมพ์สุรางค์ เตชะบุญเสริมศักด์
โชคชัย หมั่นแสวงทรัพย์
อาภาพร เผ่าวัฒนา
Sutham Nanthamongkolchai
Pimsurang Taechaboonsermsak
Chokchai Munsawaengsub
Arpaporn Powwattana
วิถีชีวิตของผู้สูงอายุหญิงที่เลี้ยงหลานในเขตชนบทภาคเหนือของประเทศไทย
description การศึกษาเชิงคุณภาพครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิถีชีวิตของผู้สูงอายุหญิงที่เลี้ยงหลานในเขตชนบทภาคเหนือในประเด็นเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเอง การปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน ปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้น ความสุขในการเลี้ยงหลาน รวมถึงความคาดหวังที่มีต่อเด็ก ครอบครัวและชุมชน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกระหว่างเดือนเมษายน-กรกฎาคม พ.ศ.2552 กลุ่มตัวอย่างคือผู้สูงอายุหญิงที่เลี้ยงหลานซึ่งมีอายุระหว่าง 1-8 ปี จำนวน 26 คน ที่อาศัยอยู่ในเขตชนบทภาคเหนือของประเทศไทย สุ่มตัวอย่างโดยวิธีการสุ่มแบบเจาะจง วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า ผู้สูงอายุหญิงที่เลี้ยงหลานในเขตชนบทภาคเหนือ ทั้ง 26 คน มีสุขภาพกายที่ดี สามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำวันและเลี้ยงหลานได้ตามปกติ ส่วนใหญ่ให้ความสำคัญในการดูแลส่งเสริมสุขภาพตนเอง โดยเฉพาะเรื่องการรับประทานอาหารและการออกกำลังกาย ผู้สูงอายุที่เลี้ยงหลานอายุต่ำกว่า 3 ปี มักจะใช้เวลาส่วนใหญ่ในการดูแลหลานทั้งในเรื่องการรับประทานอาหาร การนอน การเล่น ปัญหาที่สำคัญในการเลี้ยงหลานคือปัญหาค่าใช้จ่ายในการเลี้ยงหลานและปัญหาการเจ็บป่วยของเด็ก ผู้สูงอายุทุกคนมีความสุขในการเลี้ยงหลาน โดยเฉพาะผู้สูงอายุที่เลี้ยงหลานในวัยเด็กเล็กอายุ 1-3 ปี หรือเด็กที่เป็นหลานคนแรกในครอบครัว ผู้สูงอายุหญิงที่เลี้ยงหลานเกือบทั้งหมดคาดหวังให้เด็กเป็นเด็กดี เรียนหนังสือเก่ง มีงานทำที่ดี มีความมั่นคง และหวังให้ครอบครัวอบอุ่นมีโอกาสได้อยู่พร้อมหน้ากันระหว่าง พ่อ แม่ ลูก ผลการศึกษานี้เสนอแนะให้หน่วยงานในระดับท้องถิ่นเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมทางสังคมและสวัสดิการให้กับผู้สูงอายุให้ครอบคลุมและทั่วถึงมากขึ้น The qualitative study aimed to study the way of life of elderly female who took care of the grandchild in rural area of the Northern Thailand on issues relating to their self health care, daily activity, obstacle, and happiness in grandchild rearing including the expectation to the children, family, and community. Data were collected by in-dept interview from April to July, 2009. The samples were 26 elderly females who took care their 1-8 years old grandchildren and living in rural area of the Northern Thailand, selected by purposive sampling. Data were analyzed by content analysis. The results showed that all 26 elderly females were healthy and were able to perform daily living and rearing kids properly. Most of them concerned much about self health promoting particularly about diet and exercise. Elderly took care kids under 3 years were usually spent most of the time for caring about eating, sleeping, and playing of the children. The major problems in rearing grandchild were the caring expenditure and child’s illness. All elderly were happy to rear the children particularly for those with 1-3 years old grandchildren or the first descendant of the family. Almost all of the elderly expected their children to be good, intelligent, getting good job, life stability, and having warm family by living together of all family members. The study suggested that the local organization should take part in organizing the community activities and social welfare for the elderly with more coverage and generalized.
author2 สุธรรม นันทมงคลชัย
author_facet สุธรรม นันทมงคลชัย
สุธรรม นันทมงคลชัย
พิมพ์สุรางค์ เตชะบุญเสริมศักด์
โชคชัย หมั่นแสวงทรัพย์
อาภาพร เผ่าวัฒนา
Sutham Nanthamongkolchai
Pimsurang Taechaboonsermsak
Chokchai Munsawaengsub
Arpaporn Powwattana
format Article
author สุธรรม นันทมงคลชัย
พิมพ์สุรางค์ เตชะบุญเสริมศักด์
โชคชัย หมั่นแสวงทรัพย์
อาภาพร เผ่าวัฒนา
Sutham Nanthamongkolchai
Pimsurang Taechaboonsermsak
Chokchai Munsawaengsub
Arpaporn Powwattana
author_sort สุธรรม นันทมงคลชัย
title วิถีชีวิตของผู้สูงอายุหญิงที่เลี้ยงหลานในเขตชนบทภาคเหนือของประเทศไทย
title_short วิถีชีวิตของผู้สูงอายุหญิงที่เลี้ยงหลานในเขตชนบทภาคเหนือของประเทศไทย
title_full วิถีชีวิตของผู้สูงอายุหญิงที่เลี้ยงหลานในเขตชนบทภาคเหนือของประเทศไทย
title_fullStr วิถีชีวิตของผู้สูงอายุหญิงที่เลี้ยงหลานในเขตชนบทภาคเหนือของประเทศไทย
title_full_unstemmed วิถีชีวิตของผู้สูงอายุหญิงที่เลี้ยงหลานในเขตชนบทภาคเหนือของประเทศไทย
title_sort วิถีชีวิตของผู้สูงอายุหญิงที่เลี้ยงหลานในเขตชนบทภาคเหนือของประเทศไทย
publishDate 2015
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/2551
_version_ 1781415532349620224