ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยภาวะขาขาดเลือด
วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาระดับคุณภาพชีวิต ระดับการสนับสนุนทางสังคม และปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยภาวะขาขาดเลือด รูปแบบการวิจัย: การวิจัยเชิงบรรยาย วิธีดําเนินการวิจัย: ศึกษาในผู้ป่วยภาวะขาขาดเลือดที่มารับการรักษาในโรงพยาบาลศิริราช ตั้งแต่ปี 2547-2552 จํานวน 120 ราย อายุตั้งแต่ 18 ป...
Saved in:
Main Authors: | , , , , , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Article |
Language: | Thai |
Published: |
2018
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/26917 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | Thai |
id |
th-mahidol.26917 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-mahidol.269172023-03-31T08:11:40Z ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยภาวะขาขาดเลือด Factors Associated with Quality of Life for the Patients with Limb Ischemia ชินา บุนนา Chyna Bunnag รวิวรรณ หนูนะ Rawiwan Noona จุฬาพร ประสังสิต Chulaporn Prasungsit มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล. งานการพยาบาลศัลยศาสตร์และศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ คุณภาพชีวิต ภาวะขาดเลือด วารสารพยาบาลศาสตร์ Open Access article Journal of Nursing Science วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาระดับคุณภาพชีวิต ระดับการสนับสนุนทางสังคม และปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยภาวะขาขาดเลือด รูปแบบการวิจัย: การวิจัยเชิงบรรยาย วิธีดําเนินการวิจัย: ศึกษาในผู้ป่วยภาวะขาขาดเลือดที่มารับการรักษาในโรงพยาบาลศิริราช ตั้งแต่ปี 2547-2552 จํานวน 120 ราย อายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป โดยคัดเลือกตามคุณสมบัติที่กําหนดไว้ เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย แบบบันทึกลักษณะส่วนบุคคลของผู้ป่วย ข้อมูลด้านการรักษา แบบสอบถามคุณภาพชีวิต (SF-36) เก็บข้อมูลตั้งแต่มกราคม 2551 ถึง สิงหาคม 2552 วิเคราะห์ข้อมูลโดยแจกแจงความถี่ คํานวณค่า ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ Kruskal-Wallis test ผลการวิจัย: พบว่าคุณภาพชีวิตโดยรวมของผู้ป่วยภาวะขาขาดเลือดอยู่ในระดับต่ำ (เกณฑ์ < 75 คะแนน) และคุณภาพชีวิตรายด้านในแต่ละองค์ประกอบ ได้แก่ ความสามารถในการทําหน้าที่ของร่างกาย บทบาทที่ถูกจํากัดจากปัญหาทางด้านร่างกาย ความเจ็บปวด บทบาททางสังคม สุขภาพจิต บทบาทที่ถูกจํากัดอันเนื่องมาจากปัญหาทางด้านอารมณ์ ความกระฉับกระเฉง และความคิดเห็นด้านสุขภาพทั่วไป อยู่ในระดับต่ําเช่นกัน กลุ่มตัวอย่างได้รับการสนับสนุนทางสังคมในระดับดีในทุกวิธีการรักษา ปัจจัยด้านอายุ สถานภาพในครอบครัว อาชีพ โรคร่วม และระยะเวลาการเจ็บป่วยมีผลต่อคุณภาพชีวิตโดยรวมของผู้ป่วยภาวะขาขาดเลือด (p < .01) และยังพบว่ารายได้และชนิดการผ่าตัดรักษา มีผลต่อคะแนนคุณภาพชีวิตด้านความสามารถในการทําหน้าที่ของร่างกายอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p < .05, p < .01 ตามลําดับ) สรุปและข้อเสนอแนะ: ผู้ป่วยภาวะขาขาดเลือดมีปัจจัยหลายประการที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิต ซึ่งทีมสุขภาพควรนําความรู้นี้ไปใช้ในการพัฒนาแนวทางในดูแลผู้ป่วย เพื่อปรับปรุงพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วยให้มีประสิทธิภาพ และส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้ป่วยให้ดีขึ้น Purpose: To study the level of quality of life (QOL), social support and factors associated with quality of life in patients with limb ischemia. Design: descriptive research Method: Subjects of the study were one-hundred and twenty patients with limb ischemia, aged 18 years and over, who were receiving treatment at Siriraj Hospital, Bangkok, Thailand during 2002-2008. Instruments for data collection consisted of demographic characteristics data, treatment data, social support data, and the Quality of Life Short Form 36 Health-Survey (SF-36) questionnaire. Data were collected from January 2008 to August 2009 and analyzed using frequency, percentage, mean, standard deviation, and Kruskal-Wallis Test. Main findings: Results of the study revealed that patients had an overall QOL at low levels ( < 75). QOL in each domain of SF-36: physical function, role limitation due to physical health problems, pain, social functioning, general mental health, role limitation due to emotional problems, vitality and general health perception were also at low levels. Patients of all treatment categories had high level of social support. Age, family status, occupation, underlying disease and duration of illness of patients with limb ischemia were significantly associated with QOL. Income and methods of treatment were also significantly associated with the physical function domain of patients with limb ischemia at p < .05 and .01 consecutively. Conclusion and recommendations: Many factors for patients with limb ischemia have affected the QOL. These results can be used to develop a guideline of nursing care for these patients to improve quality of care and QOL. ทุนพัฒนาการวิจัยโครงการพัฒนางานประจําสู่งานวิจัย คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล (Routine to Research) 2018-09-10T02:26:57Z 2018-09-10T02:26:57Z 2561-09-10 2554 Article วารสารพยาบาลศาสตร์. ปีที่ 29 (ฉ.เพิ่มเติม 1), ฉบับที่ 1 (เม.ย. - มิ.ย. 2554), 27-36 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/26917 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf |
institution |
Mahidol University |
building |
Mahidol University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Mahidol University Library |
collection |
Mahidol University Institutional Repository |
language |
Thai |
topic |
คุณภาพชีวิต ภาวะขาดเลือด วารสารพยาบาลศาสตร์ Open Access article Journal of Nursing Science |
spellingShingle |
คุณภาพชีวิต ภาวะขาดเลือด วารสารพยาบาลศาสตร์ Open Access article Journal of Nursing Science ชินา บุนนา Chyna Bunnag รวิวรรณ หนูนะ Rawiwan Noona จุฬาพร ประสังสิต Chulaporn Prasungsit ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยภาวะขาขาดเลือด |
description |
วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาระดับคุณภาพชีวิต ระดับการสนับสนุนทางสังคม และปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยภาวะขาขาดเลือด รูปแบบการวิจัย: การวิจัยเชิงบรรยาย วิธีดําเนินการวิจัย: ศึกษาในผู้ป่วยภาวะขาขาดเลือดที่มารับการรักษาในโรงพยาบาลศิริราช ตั้งแต่ปี 2547-2552 จํานวน 120 ราย อายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป โดยคัดเลือกตามคุณสมบัติที่กําหนดไว้ เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย แบบบันทึกลักษณะส่วนบุคคลของผู้ป่วย ข้อมูลด้านการรักษา แบบสอบถามคุณภาพชีวิต (SF-36) เก็บข้อมูลตั้งแต่มกราคม 2551 ถึง สิงหาคม 2552 วิเคราะห์ข้อมูลโดยแจกแจงความถี่ คํานวณค่า ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ Kruskal-Wallis test ผลการวิจัย: พบว่าคุณภาพชีวิตโดยรวมของผู้ป่วยภาวะขาขาดเลือดอยู่ในระดับต่ำ (เกณฑ์ < 75 คะแนน) และคุณภาพชีวิตรายด้านในแต่ละองค์ประกอบ ได้แก่ ความสามารถในการทําหน้าที่ของร่างกาย บทบาทที่ถูกจํากัดจากปัญหาทางด้านร่างกาย ความเจ็บปวด บทบาททางสังคม สุขภาพจิต บทบาทที่ถูกจํากัดอันเนื่องมาจากปัญหาทางด้านอารมณ์ ความกระฉับกระเฉง และความคิดเห็นด้านสุขภาพทั่วไป อยู่ในระดับต่ําเช่นกัน กลุ่มตัวอย่างได้รับการสนับสนุนทางสังคมในระดับดีในทุกวิธีการรักษา ปัจจัยด้านอายุ สถานภาพในครอบครัว อาชีพ โรคร่วม และระยะเวลาการเจ็บป่วยมีผลต่อคุณภาพชีวิตโดยรวมของผู้ป่วยภาวะขาขาดเลือด (p < .01) และยังพบว่ารายได้และชนิดการผ่าตัดรักษา มีผลต่อคะแนนคุณภาพชีวิตด้านความสามารถในการทําหน้าที่ของร่างกายอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p < .05, p < .01 ตามลําดับ) สรุปและข้อเสนอแนะ: ผู้ป่วยภาวะขาขาดเลือดมีปัจจัยหลายประการที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิต ซึ่งทีมสุขภาพควรนําความรู้นี้ไปใช้ในการพัฒนาแนวทางในดูแลผู้ป่วย เพื่อปรับปรุงพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วยให้มีประสิทธิภาพ และส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้ป่วยให้ดีขึ้น |
author2 |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล. งานการพยาบาลศัลยศาสตร์และศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ |
author_facet |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล. งานการพยาบาลศัลยศาสตร์และศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ ชินา บุนนา Chyna Bunnag รวิวรรณ หนูนะ Rawiwan Noona จุฬาพร ประสังสิต Chulaporn Prasungsit |
format |
Article |
author |
ชินา บุนนา Chyna Bunnag รวิวรรณ หนูนะ Rawiwan Noona จุฬาพร ประสังสิต Chulaporn Prasungsit |
author_sort |
ชินา บุนนา |
title |
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยภาวะขาขาดเลือด |
title_short |
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยภาวะขาขาดเลือด |
title_full |
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยภาวะขาขาดเลือด |
title_fullStr |
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยภาวะขาขาดเลือด |
title_full_unstemmed |
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยภาวะขาขาดเลือด |
title_sort |
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยภาวะขาขาดเลือด |
publishDate |
2018 |
url |
https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/26917 |
_version_ |
1763490372055465984 |