ผลของการออกกำลังกายที่มีต่อสุขภาพจิต: การวิเคราะห์พหุตัวแปรจากข้อมูลการสำรวจอนามัยและสวัสดิการของประเทศไทย พ.ศ. 2554

การศึกษานี้มุ่งเน้นที่จะสะท้อนให้เห็นถึงความสำคัญของการออกกำลังกายที่มีผลต่อสุขภาพจิตของคนไทย โดยใช้ข้อมูลจากการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2554 ของสำนักงานสถิติแห่งชาติ โดยผู้ให้ข้อมูลเป็นประชากรที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไป รวมทั้งสิ้น 28,654 คน เป็นผู้ออกกำลังกายร้อยละ 28 ผลการศึกษาคนไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: กวิสรา พชรเบญจกุล, อภิชาติ จำรัสฤทธิรงค์
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยประชากรและสังคม
Format: Article
Language:Thai
Published: 2014
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/2936
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.2936
record_format dspace
spelling th-mahidol.29362023-04-12T15:26:38Z ผลของการออกกำลังกายที่มีต่อสุขภาพจิต: การวิเคราะห์พหุตัวแปรจากข้อมูลการสำรวจอนามัยและสวัสดิการของประเทศไทย พ.ศ. 2554 The Impact of Exercise on Mental Health: A Multivariate Analysis of the Survey of Health and Welfare in Thailand 2011 กวิสรา พชรเบญจกุล อภิชาติ จำรัสฤทธิรงค์ มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยประชากรและสังคม สุขภาพจิต การออกกำลังกาย แอโรบิค และแอนแอโรบิค การศึกษานี้มุ่งเน้นที่จะสะท้อนให้เห็นถึงความสำคัญของการออกกำลังกายที่มีผลต่อสุขภาพจิตของคนไทย โดยใช้ข้อมูลจากการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2554 ของสำนักงานสถิติแห่งชาติ โดยผู้ให้ข้อมูลเป็นประชากรที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไป รวมทั้งสิ้น 28,654 คน เป็นผู้ออกกำลังกายร้อยละ 28 ผลการศึกษาคนไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป ยืนยันได้ว่าการออกกำลังกายมีผลต่อสุขภาพจิตอย่างชัดเจนและมีนัยสำคัญทางสถิติ กล่าวคือ ผู้ที่ออกกำลังกายจะมีสุขภาพจิตดีกว่าผู้ที่ไม่ได้ออกกำลังกาย โดยเฉพาะการออกกำลังกาย ด้วยวิธี Anaerobic สำหรับระยะเวลาที่เหมาะสมสำหรับการออกกำลังกาย พบว่าจำนวนวันที่ออกกำลังกายต่อเดือน และจำนวนเดือนที่ออกกำลังติดต่อกันที่ยาวนานขึ้นจะมีผลในทางบวกต่อคะแนนสุขภาพจิต หากพิจารณาร่วมกับวิธีออกกำลังกาย พบว่าผู้ที่ออกกำลังกายแบบ Aerobic การออกกำลังกายติดต่อกันนานหลายวันเป็นระยะเวลาหลายเดือนและมีความสม่ำเสมอในแต่ละครั้ง ขณะที่ผู้ออกกำลังกายโดยวิธี Anaerobic การออกกำลังกายติดต่อกันนานเป็นระยะเวลาหลายวันต่อเดือนจะช่วยส่งเสริมสุขภาพจิตให้ดีขึ้น การออกกำลังกายดังกล่าวนี้ทั้ง Aerobic และ Anaerobic มีผลดีต่อสุขภาพจิตทั้งใน ภาพรวมและการวิเคราะห์องค์ประกอบสุขภาพจิตในด้านต่างๆ ด้วยเช่นกัน อย่างไรก็ตาม การออกกำลังกายวิธี Anaerobic ที่ติดต่อกันเป็นระยะเวลาหลายเดือนอาจมีผลเสียต่อสุขภาพจิตในบางองค์ประกอบ การออกกำลังกายจึงควรยึดหลักความพอดีด้วยจึงจะเป็นประโยชน์สูงสุด 2014-08-26T03:09:07Z 2017-10-25T08:50:09Z 2014-08-26T03:09:07Z 2017-10-25T08:50:09Z 2557-08-25 2555-09 Article วารสารประชากร. ปีที่ 4, ฉบับที่ 1 (2555), 1-23 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/2936 tha มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic สุขภาพจิต
การออกกำลังกาย
แอโรบิค
และแอนแอโรบิค
spellingShingle สุขภาพจิต
การออกกำลังกาย
แอโรบิค
และแอนแอโรบิค
กวิสรา พชรเบญจกุล
อภิชาติ จำรัสฤทธิรงค์
ผลของการออกกำลังกายที่มีต่อสุขภาพจิต: การวิเคราะห์พหุตัวแปรจากข้อมูลการสำรวจอนามัยและสวัสดิการของประเทศไทย พ.ศ. 2554
description การศึกษานี้มุ่งเน้นที่จะสะท้อนให้เห็นถึงความสำคัญของการออกกำลังกายที่มีผลต่อสุขภาพจิตของคนไทย โดยใช้ข้อมูลจากการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2554 ของสำนักงานสถิติแห่งชาติ โดยผู้ให้ข้อมูลเป็นประชากรที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไป รวมทั้งสิ้น 28,654 คน เป็นผู้ออกกำลังกายร้อยละ 28 ผลการศึกษาคนไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป ยืนยันได้ว่าการออกกำลังกายมีผลต่อสุขภาพจิตอย่างชัดเจนและมีนัยสำคัญทางสถิติ กล่าวคือ ผู้ที่ออกกำลังกายจะมีสุขภาพจิตดีกว่าผู้ที่ไม่ได้ออกกำลังกาย โดยเฉพาะการออกกำลังกาย ด้วยวิธี Anaerobic สำหรับระยะเวลาที่เหมาะสมสำหรับการออกกำลังกาย พบว่าจำนวนวันที่ออกกำลังกายต่อเดือน และจำนวนเดือนที่ออกกำลังติดต่อกันที่ยาวนานขึ้นจะมีผลในทางบวกต่อคะแนนสุขภาพจิต หากพิจารณาร่วมกับวิธีออกกำลังกาย พบว่าผู้ที่ออกกำลังกายแบบ Aerobic การออกกำลังกายติดต่อกันนานหลายวันเป็นระยะเวลาหลายเดือนและมีความสม่ำเสมอในแต่ละครั้ง ขณะที่ผู้ออกกำลังกายโดยวิธี Anaerobic การออกกำลังกายติดต่อกันนานเป็นระยะเวลาหลายวันต่อเดือนจะช่วยส่งเสริมสุขภาพจิตให้ดีขึ้น การออกกำลังกายดังกล่าวนี้ทั้ง Aerobic และ Anaerobic มีผลดีต่อสุขภาพจิตทั้งใน ภาพรวมและการวิเคราะห์องค์ประกอบสุขภาพจิตในด้านต่างๆ ด้วยเช่นกัน อย่างไรก็ตาม การออกกำลังกายวิธี Anaerobic ที่ติดต่อกันเป็นระยะเวลาหลายเดือนอาจมีผลเสียต่อสุขภาพจิตในบางองค์ประกอบ การออกกำลังกายจึงควรยึดหลักความพอดีด้วยจึงจะเป็นประโยชน์สูงสุด
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยประชากรและสังคม
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยประชากรและสังคม
กวิสรา พชรเบญจกุล
อภิชาติ จำรัสฤทธิรงค์
format Article
author กวิสรา พชรเบญจกุล
อภิชาติ จำรัสฤทธิรงค์
author_sort กวิสรา พชรเบญจกุล
title ผลของการออกกำลังกายที่มีต่อสุขภาพจิต: การวิเคราะห์พหุตัวแปรจากข้อมูลการสำรวจอนามัยและสวัสดิการของประเทศไทย พ.ศ. 2554
title_short ผลของการออกกำลังกายที่มีต่อสุขภาพจิต: การวิเคราะห์พหุตัวแปรจากข้อมูลการสำรวจอนามัยและสวัสดิการของประเทศไทย พ.ศ. 2554
title_full ผลของการออกกำลังกายที่มีต่อสุขภาพจิต: การวิเคราะห์พหุตัวแปรจากข้อมูลการสำรวจอนามัยและสวัสดิการของประเทศไทย พ.ศ. 2554
title_fullStr ผลของการออกกำลังกายที่มีต่อสุขภาพจิต: การวิเคราะห์พหุตัวแปรจากข้อมูลการสำรวจอนามัยและสวัสดิการของประเทศไทย พ.ศ. 2554
title_full_unstemmed ผลของการออกกำลังกายที่มีต่อสุขภาพจิต: การวิเคราะห์พหุตัวแปรจากข้อมูลการสำรวจอนามัยและสวัสดิการของประเทศไทย พ.ศ. 2554
title_sort ผลของการออกกำลังกายที่มีต่อสุขภาพจิต: การวิเคราะห์พหุตัวแปรจากข้อมูลการสำรวจอนามัยและสวัสดิการของประเทศไทย พ.ศ. 2554
publishDate 2014
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/2936
_version_ 1781415130800586752