คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในพื้นที่เฝ้าระวังทางประชากรกาญจนบุรี

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาถึง ระดับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดกาญจนบุรีแบบองค์รวม และจำแนกตามองค์ประกอบ (ด้านครอบครัวด้านสุขภาพ ด้านความมั่นคงทางเศรษฐกิจ และด้านมาตรฐานการอยู่อาศัยแลสภาพแวดล้อม) 2) เพื่อศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางประชากร เศรษฐกิจ และสังคม กับคุณภ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: เรวดี สุวรรณนพเก้า, รศรินทร์ เกรย์
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยประชากรและสังคม
Format: Article
Language:Thai
Published: 2014
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/2949
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.2949
record_format dspace
spelling th-mahidol.29492023-04-12T15:32:32Z คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในพื้นที่เฝ้าระวังทางประชากรกาญจนบุรี Quality of life of older persons in Kanchanaburi demographic surveillance system เรวดี สุวรรณนพเก้า รศรินทร์ เกรย์ มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ผู้สูงอายุ คุณภาพชีวิต ครอบครัว สภาพแวดล้อม การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาถึง ระดับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดกาญจนบุรีแบบองค์รวม และจำแนกตามองค์ประกอบ (ด้านครอบครัวด้านสุขภาพ ด้านความมั่นคงทางเศรษฐกิจ และด้านมาตรฐานการอยู่อาศัยแลสภาพแวดล้อม) 2) เพื่อศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางประชากร เศรษฐกิจ และสังคม กับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดกาญจนบุรีแบบองค์รวม และจำแนกตามองค์ประกอบดังกล่าว การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงวัตถุวิสัย ด้วยข้อมูลทุติยภูมิจากโครงการเฝ้าระวังทางประชากรกาญจนบุรี รอบ 3 (พ.ศ.2545) สำหรับเกณฑ์การแบ่งกลุ่มคุณภาพชีวิตเป็นระดับดี ปานกลาง และต่ำ โดยใช้ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่างประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปจำนวน 3,550 คน หญิงมีสัดส่วนสูงกว่าชาย ส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุตอนต้น (60-69ปี) เป็นผู้มีคู่ จบระดับประถมศึกษา ไม่ได้ทำงาน และอาศัยอยู่ในพี้นที่ที่มีความเป็นชนบท คุณภาพชีวิตด้านมาตรฐานการอยู่อาศัย และสภาพแวดล้อมที่อยู่ในระดับดีสูงที่สุด (ร้อยละ 15.2) รองลงมาคือ คุณภาพชีวิตด้านครอบครัว (ร้อยละ 14.4) ด้านความมั่นคงทางเศรษฐกิจ (ร้อยละ 6.6) และด้านสุขภาพ (ร้อยละ 4.5) ตามลำดับ จากคุณภาพชีวิตทั้ง 4 ด้านนำมาซึ่งคุณภาพชีวิตองค์รวม พบว่า คุณภาพชีวิตองค์รวมอยู่ในระดับดี ร้อยละ 13.2 จากการวิเคราะห์ถดถอยแบบพหุโลจิสติค กับคุณภาพชีวิตในแต่ละด้าน และองค์รวม โดยเปรียบเทียบผู้สูงอายุที่มีคุณภาพชีวิตดีกับต่ำ พบว่า การศึกษา และพื้่นที่อยู่อาศัยมีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตในทุกๆ ด้าน กล่าวคือ ผู้สูงอายุยิ่งมีการศึกษาสูงโอกาสมีคุณภาพชีวิตดีก็สูงขึ้นไปด้วย ผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ ที่มีความเป็นเมือง/กึ่งเมือง มีโอกาสที่จะมีคุณภาพชีวิตที่ดี สูงกว่าผู้สูงอายุที่มีการศึกษาน้อยและผู้สูงอายุที่อยู่ในพื้นที่ที่มีลักษณะความเป็นชนบท 2014-08-27T03:49:55Z 2017-10-25T09:27:19Z 2014-08-27T03:49:55Z 2017-10-25T09:27:19Z 2557-08-27 2554-03 Article วารสารประชากร. ปีที่ 2, ฉบับที่ 2 (2554), 31-54. https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/2949 tha มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic ผู้สูงอายุ
คุณภาพชีวิต
ครอบครัว
สภาพแวดล้อม
spellingShingle ผู้สูงอายุ
คุณภาพชีวิต
ครอบครัว
สภาพแวดล้อม
เรวดี สุวรรณนพเก้า
รศรินทร์ เกรย์
คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในพื้นที่เฝ้าระวังทางประชากรกาญจนบุรี
description การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาถึง ระดับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดกาญจนบุรีแบบองค์รวม และจำแนกตามองค์ประกอบ (ด้านครอบครัวด้านสุขภาพ ด้านความมั่นคงทางเศรษฐกิจ และด้านมาตรฐานการอยู่อาศัยแลสภาพแวดล้อม) 2) เพื่อศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางประชากร เศรษฐกิจ และสังคม กับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดกาญจนบุรีแบบองค์รวม และจำแนกตามองค์ประกอบดังกล่าว การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงวัตถุวิสัย ด้วยข้อมูลทุติยภูมิจากโครงการเฝ้าระวังทางประชากรกาญจนบุรี รอบ 3 (พ.ศ.2545) สำหรับเกณฑ์การแบ่งกลุ่มคุณภาพชีวิตเป็นระดับดี ปานกลาง และต่ำ โดยใช้ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่างประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปจำนวน 3,550 คน หญิงมีสัดส่วนสูงกว่าชาย ส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุตอนต้น (60-69ปี) เป็นผู้มีคู่ จบระดับประถมศึกษา ไม่ได้ทำงาน และอาศัยอยู่ในพี้นที่ที่มีความเป็นชนบท คุณภาพชีวิตด้านมาตรฐานการอยู่อาศัย และสภาพแวดล้อมที่อยู่ในระดับดีสูงที่สุด (ร้อยละ 15.2) รองลงมาคือ คุณภาพชีวิตด้านครอบครัว (ร้อยละ 14.4) ด้านความมั่นคงทางเศรษฐกิจ (ร้อยละ 6.6) และด้านสุขภาพ (ร้อยละ 4.5) ตามลำดับ จากคุณภาพชีวิตทั้ง 4 ด้านนำมาซึ่งคุณภาพชีวิตองค์รวม พบว่า คุณภาพชีวิตองค์รวมอยู่ในระดับดี ร้อยละ 13.2 จากการวิเคราะห์ถดถอยแบบพหุโลจิสติค กับคุณภาพชีวิตในแต่ละด้าน และองค์รวม โดยเปรียบเทียบผู้สูงอายุที่มีคุณภาพชีวิตดีกับต่ำ พบว่า การศึกษา และพื้่นที่อยู่อาศัยมีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตในทุกๆ ด้าน กล่าวคือ ผู้สูงอายุยิ่งมีการศึกษาสูงโอกาสมีคุณภาพชีวิตดีก็สูงขึ้นไปด้วย ผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ ที่มีความเป็นเมือง/กึ่งเมือง มีโอกาสที่จะมีคุณภาพชีวิตที่ดี สูงกว่าผู้สูงอายุที่มีการศึกษาน้อยและผู้สูงอายุที่อยู่ในพื้นที่ที่มีลักษณะความเป็นชนบท
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยประชากรและสังคม
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยประชากรและสังคม
เรวดี สุวรรณนพเก้า
รศรินทร์ เกรย์
format Article
author เรวดี สุวรรณนพเก้า
รศรินทร์ เกรย์
author_sort เรวดี สุวรรณนพเก้า
title คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในพื้นที่เฝ้าระวังทางประชากรกาญจนบุรี
title_short คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในพื้นที่เฝ้าระวังทางประชากรกาญจนบุรี
title_full คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในพื้นที่เฝ้าระวังทางประชากรกาญจนบุรี
title_fullStr คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในพื้นที่เฝ้าระวังทางประชากรกาญจนบุรี
title_full_unstemmed คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในพื้นที่เฝ้าระวังทางประชากรกาญจนบุรี
title_sort คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในพื้นที่เฝ้าระวังทางประชากรกาญจนบุรี
publishDate 2014
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/2949
_version_ 1781416029230989312