การศึกษาความคาดหวังและความผูกพันต่อองค์กรของบุคลากรมหาวิทยาลัยมหิดล
การศึกษาความคาดหวังและความผูกพันต่อองค์กรของบุคลากรมหาวิทยาลัยมหิดล มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาความคาดหวังของบุคลากรที่มีต่อการบริหารงานของมหาวิทยาลัย และศึกษาระดับความผูกพันและเหตุผลที่ทำให้บุคลากรเกิดความผูกพันต่อองค์กร นอกจากนี้ได้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความคาดหวังกับความผูกพันต่อองค์กรของบุคลากรม...
Saved in:
Main Authors: | , , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Article |
Language: | Thai |
Published: |
2018
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/3321 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | Thai |
id |
th-mahidol.3321 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Mahidol University |
building |
Mahidol University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Mahidol University Library |
collection |
Mahidol University Institutional Repository |
language |
Thai |
topic |
ความคาดหวัง ความผูกพันต่อองค์กร บุคลากรมหาวิทยาลัยมหิดล Open Access article วารสารการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย Journal of Professional Routine to Research |
spellingShingle |
ความคาดหวัง ความผูกพันต่อองค์กร บุคลากรมหาวิทยาลัยมหิดล Open Access article วารสารการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย Journal of Professional Routine to Research ปิยนุช รัตนกุล Sumalee Sangsawang Piyanuch Rattanakul การศึกษาความคาดหวังและความผูกพันต่อองค์กรของบุคลากรมหาวิทยาลัยมหิดล |
description |
การศึกษาความคาดหวังและความผูกพันต่อองค์กรของบุคลากรมหาวิทยาลัยมหิดล มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาความคาดหวังของบุคลากรที่มีต่อการบริหารงานของมหาวิทยาลัย และศึกษาระดับความผูกพันและเหตุผลที่ทำให้บุคลากรเกิดความผูกพันต่อองค์กร นอกจากนี้ได้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความคาดหวังกับความผูกพันต่อองค์กรของบุคลากรมหาวิทยาลัยมหิดล โดยกลุ่มประชากรใช้ในการศึกษาคร้ังนี้ ได้แก่ บุคลากรที่ปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัยมหิดลทุกระดับ ประกอบด้วย ผู้บริหาร บุคลากรสายวิชาการและสายสนับสนุนทั้งหมดจำนวน 31,093 คน โดยใช้วิธีการส่งแบบสอบถามออนไลน์ทาง e-mail และมีผู้ตอบกลับจำนวน 3,327 ราย หรือ คิดเป็นร้อยละ 10.70 ของบุคลากรทั้งหมด การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ( x ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และสถิติเชิงอนุมาน (Inferential Statistics) ได้แก่ การวิเคราะห์ค่า สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน (Pearson Correlation) การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) และการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยรายคู่โดยใช้F-test ด้วยวิธีการของ Scheffe ผลการศึกษาพบว่า บุคลากรมีความคาดหวังด้านบรรยากาศและสภาพแวดล้อมในการทำงานสูงที่สุดและมีสภาพความเป็นจริงในการบริหารงานสอดคล้องกับความคาดหวังมากที่สุดเช่นกัน ส่วนด้านที่มีความแตกต่างระหว่างความคาดหวังกับสภาพความเป็นจริงในการบริหารงาน (GAP) มากที่สุด คือ ด้านระบบบริหารทรัพยากรบุคคล สำหรับผลการศึกษาระดับความผูกพันต่อองค์กร พบว่า บุคลากรส่วนใหญ่มีความผูกพันต่อองค์กรในระดับมาก โดยมีพยายามทุ่มเทในการปฏิบัติงานสูงที่สุดและเหตุผลที่ทำให้บุคลากรเกิดความผูกพันต่อองค์กรมากที่สุด คือ ความพึงพอใจในลักษณะงานที่ปฏิบัติ ซึ่งความคาดหวังของบุคลากรมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับระดับความผูกพันต่อองค์กรอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และบุคลากรที่มีประเภทการจ้างและประเภทตำแหน่งแตกต่างกันมีระดับความผูกพันต่อองค์กรที่แตกต่างกันทั้งนี้มีข้อเสนอแนะว่า มหาวิทยาลัยควรให้ความสำคัญกับการสร้างบรรยากาศและสภาพแวดล้อมในการทำงานที่ดีอย่างต่อเนื่อง รวมถึงการพัฒนาระบบบริหารทรัพยากรบุคคลให้มีความเหมาะสมกับบุคลากรแต่ละประเภท เพื่อสนับสนุนให้บุคลากรเกิดความผูกพันต่อมหาวิทยาลัยต่อไป |
author2 |
มหาวิทยาลัยมหิดล. กองทรัพยากรบุคคล. งานยุทธศาสตร์และพัฒนาระบบบริหารทรัพยากรบุคคล |
author_facet |
มหาวิทยาลัยมหิดล. กองทรัพยากรบุคคล. งานยุทธศาสตร์และพัฒนาระบบบริหารทรัพยากรบุคคล ปิยนุช รัตนกุล Sumalee Sangsawang Piyanuch Rattanakul |
format |
Article |
author |
ปิยนุช รัตนกุล Sumalee Sangsawang Piyanuch Rattanakul |
author_sort |
ปิยนุช รัตนกุล |
title |
การศึกษาความคาดหวังและความผูกพันต่อองค์กรของบุคลากรมหาวิทยาลัยมหิดล |
title_short |
การศึกษาความคาดหวังและความผูกพันต่อองค์กรของบุคลากรมหาวิทยาลัยมหิดล |
title_full |
การศึกษาความคาดหวังและความผูกพันต่อองค์กรของบุคลากรมหาวิทยาลัยมหิดล |
title_fullStr |
การศึกษาความคาดหวังและความผูกพันต่อองค์กรของบุคลากรมหาวิทยาลัยมหิดล |
title_full_unstemmed |
การศึกษาความคาดหวังและความผูกพันต่อองค์กรของบุคลากรมหาวิทยาลัยมหิดล |
title_sort |
การศึกษาความคาดหวังและความผูกพันต่อองค์กรของบุคลากรมหาวิทยาลัยมหิดล |
publishDate |
2018 |
url |
https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/3321 |
_version_ |
1764209802128392192 |
spelling |
th-mahidol.33212023-03-31T10:12:54Z การศึกษาความคาดหวังและความผูกพันต่อองค์กรของบุคลากรมหาวิทยาลัยมหิดล The Study of Mahidol University Staff’s Expectation and Organization Engagement ปิยนุช รัตนกุล Sumalee Sangsawang Piyanuch Rattanakul มหาวิทยาลัยมหิดล. กองทรัพยากรบุคคล. งานยุทธศาสตร์และพัฒนาระบบบริหารทรัพยากรบุคคล ความคาดหวัง ความผูกพันต่อองค์กร บุคลากรมหาวิทยาลัยมหิดล Open Access article วารสารการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย Journal of Professional Routine to Research การศึกษาความคาดหวังและความผูกพันต่อองค์กรของบุคลากรมหาวิทยาลัยมหิดล มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาความคาดหวังของบุคลากรที่มีต่อการบริหารงานของมหาวิทยาลัย และศึกษาระดับความผูกพันและเหตุผลที่ทำให้บุคลากรเกิดความผูกพันต่อองค์กร นอกจากนี้ได้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความคาดหวังกับความผูกพันต่อองค์กรของบุคลากรมหาวิทยาลัยมหิดล โดยกลุ่มประชากรใช้ในการศึกษาคร้ังนี้ ได้แก่ บุคลากรที่ปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัยมหิดลทุกระดับ ประกอบด้วย ผู้บริหาร บุคลากรสายวิชาการและสายสนับสนุนทั้งหมดจำนวน 31,093 คน โดยใช้วิธีการส่งแบบสอบถามออนไลน์ทาง e-mail และมีผู้ตอบกลับจำนวน 3,327 ราย หรือ คิดเป็นร้อยละ 10.70 ของบุคลากรทั้งหมด การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ( x ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และสถิติเชิงอนุมาน (Inferential Statistics) ได้แก่ การวิเคราะห์ค่า สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน (Pearson Correlation) การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) และการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยรายคู่โดยใช้F-test ด้วยวิธีการของ Scheffe ผลการศึกษาพบว่า บุคลากรมีความคาดหวังด้านบรรยากาศและสภาพแวดล้อมในการทำงานสูงที่สุดและมีสภาพความเป็นจริงในการบริหารงานสอดคล้องกับความคาดหวังมากที่สุดเช่นกัน ส่วนด้านที่มีความแตกต่างระหว่างความคาดหวังกับสภาพความเป็นจริงในการบริหารงาน (GAP) มากที่สุด คือ ด้านระบบบริหารทรัพยากรบุคคล สำหรับผลการศึกษาระดับความผูกพันต่อองค์กร พบว่า บุคลากรส่วนใหญ่มีความผูกพันต่อองค์กรในระดับมาก โดยมีพยายามทุ่มเทในการปฏิบัติงานสูงที่สุดและเหตุผลที่ทำให้บุคลากรเกิดความผูกพันต่อองค์กรมากที่สุด คือ ความพึงพอใจในลักษณะงานที่ปฏิบัติ ซึ่งความคาดหวังของบุคลากรมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับระดับความผูกพันต่อองค์กรอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และบุคลากรที่มีประเภทการจ้างและประเภทตำแหน่งแตกต่างกันมีระดับความผูกพันต่อองค์กรที่แตกต่างกันทั้งนี้มีข้อเสนอแนะว่า มหาวิทยาลัยควรให้ความสำคัญกับการสร้างบรรยากาศและสภาพแวดล้อมในการทำงานที่ดีอย่างต่อเนื่อง รวมถึงการพัฒนาระบบบริหารทรัพยากรบุคคลให้มีความเหมาะสมกับบุคลากรแต่ละประเภท เพื่อสนับสนุนให้บุคลากรเกิดความผูกพันต่อมหาวิทยาลัยต่อไป The study of Mahidol Univetsity staff’s expectation and organization engagement aim to study expectation of staff to Mahidol University Administration and to study engagement level and cause that affect to organization engagement. Moreover, the purpose is also study a relationship between staff’s expectation and engagement. The populations are Mahidol University staffs from all level consist of administrative team, academic staff and support staff amount 31,093 people. The methodology used survey via e-mail to collect the data. The returned responses were 3,327 people or 10.70% of all staffs. The use of analysis for this study is descriptive statistics consist of percentage, mean ( x ) and standard deviation (S.D.). Inferential statistics were Pearson Correlation, One-way ANOVA and F-test. The results show that the most of staff’s expectation were atmosphere and working environment, and also have highest correlation between reality administration and expectation. On the other hands, there was highest difference in the area between reality administration and expectation (GAP) of human resource management. The result of engagement level study finds that mostly staffs have high level in organization engagement which is dedicate to their work. The reason for this result is they are satisfied with their jobs. There was a positive correlation between staff’s expectation and organization engagement level at the 0.05 level of significance. The difference types of staff have different level of organization engagement. The suggestions are Mahidol University should continually emphasize on good working environment and atmosphere. Moreover, the development of Human resource management should be proper with all positions to encourage staff engage in Mahidol University in the future. 2018-01-10T11:52:01Z 2018-01-10T11:52:01Z 2018-01-10 2017-08 Article วารสารการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย. ปีที่ 4, (ส.ค. 2560), 56-66 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/3321 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf |