การดูแลสุขภาพผู้เจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในชุมชน: มุมมองของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในชุมชน

บทคัดย่อ วัตถุประสงค์: เพื่อค้นหาทุนสังคมที่มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของประชาชนที่เจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงศึกษาวิธีที่ผู้เจ็บป่วยใช้ค้นหาความรู้ในการดูแลสุขภาพและรูปแบบการให้บริการสุขภาพตลอดจนความต้องการบริการสุขภาพของประชาชน รูปแบบการวิจัย: การวิจัยเชิงคุณภาพ วิธีการดำเนินการวิจัย:...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: กีรดา ไกรนุวัตร, Kerada Krainuwat, เสาวรส มีกุศล, Saovaros Meekusol, ปนัดดา ปริยฑฤฆ, Panudda Priyatruk
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาการพยาบาลสาธารณสุขศาสตร์
Format: Article
Language:Thai
Published: 2018
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/3327
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.3327
record_format dspace
spelling th-mahidol.33272023-03-31T12:19:13Z การดูแลสุขภาพผู้เจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในชุมชน: มุมมองของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในชุมชน Health Care Services for Clients with Diabetes and Hypertension: A Perspective of Community Stakeholders กีรดา ไกรนุวัตร Kerada Krainuwat เสาวรส มีกุศล Saovaros Meekusol ปนัดดา ปริยฑฤฆ Panudda Priyatruk มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาการพยาบาลสาธารณสุขศาสตร์ การดูแลสุขภาพชุมชน โครงการพยาบาลชุมชนเพื่อชุมชน วารสารพยาบาลศาสตร์ ๋Journal of Nursing Science Open Access article บทคัดย่อ วัตถุประสงค์: เพื่อค้นหาทุนสังคมที่มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของประชาชนที่เจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงศึกษาวิธีที่ผู้เจ็บป่วยใช้ค้นหาความรู้ในการดูแลสุขภาพและรูปแบบการให้บริการสุขภาพตลอดจนความต้องการบริการสุขภาพของประชาชน รูปแบบการวิจัย: การวิจัยเชิงคุณภาพ วิธีการดำเนินการวิจัย: ประชากรเป้าหมายคือชาวสามพราน 20 คน เก็บข้อมูลผ่านการสังเกตสำรวจชุมชนและสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหาและสอบทานข้อมูลจากผู้ให้ข้อมูลหลัก ผลการวิจัย: ทุนสังคมที่มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของประชาชนได้แก่ องค์การบริหารส่วนตำบล สถานีอนามัย ชมรมผู้สุงอายุและคณะพยาบาล ศาสตร์ ประชาชนที่เจ็บป่วยเรียนรู้การดูแลสุขภาพจากเจ้าหน้าที่สุขภาพ สื่อสิ่งพิมพ์ คุยกับผู้ที่เป็นโรคเดียวกันและอาการของตนเองบริการสุขภาพที่ประชาชนอยากได้คือบริการให้ความรู้และเสริมทักษะในบรรยากาศที่คุ้นเคยและการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน สรุปและข้อเสนอแนะ: การดูแลสุขภาพของผู้เจ็บป่วยในชุมชนทำได้เต็มที่ เมื่อมีการประสานความร่วมมือระหว่างทุนสังคมภายในและนอกชุมชนทีมผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะดังนี้ 1) กระตุ้นประชาชนที่เจ็บป่วยเข้ามามีส่วนร่วมในการเสนอความคิดหรือร่วมจัดโครงการดูแลสุขภาพเพิ่มขึ้น 2) องค์การบริหารส่วนตำบลควรมีนโยบายและแผนยุทธศาสตร์รองรับพยาบาลชุมชนที่จะจบกลับมาทำงานเพื่อให้การดูแลสุขภาพเป็นไปตามเป้าหมาย Purpose: This study aimed to explore how community human resources are involved in caring for clients with diabetes/hypertension. The study also investigated how clients searched for knowledge to care for their health and looked into community care services and clients’ health needs. Design: A qualitative study design. Methods: Target population was 20 key informants from Sampran district. Data were collected by observation, survey, and interview and analyzed using content analysis then verified by key informants. Main findings: The findings showed that a number of community human resources, including local government, local health departments, Sampran elderly club, and Faculty of Nursing, Mahidol University were involved in providing care and support for clients with diabetes/ hypertension. Those clients learned how to take care of themselves from health care providers, health media, self help groups, and signs and symptoms of the disease. They needed to enhance their knowledge and skills in a friendly and relaxed environment. They also needed home-based continuing care services. Conclusion and recommendations: Health care services for clients with diabetes/ hypertension could be maximized by a joint collaboration among community human resources. Researchers, therefore, presented recommendations for success in caring for clients as follows: Firstly, stakeholders especially those who lived with diabetes/ hypertension should be encouraged to share ideas or get involved in community health project(s). Secondly, local policy makers should set up health care policies and strategic plans that covered the work of community health nurses to reach their health care goals. ได้รับทุนสนับสนุนจากสถาบันวิจัยและพัฒนาระบบการพยาบาล สภาการพยาบาลและ สำานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ 2018-01-11T17:09:14Z 2018-01-11T17:09:14Z 2018-01-11 2011 Article วารสารพยาบาลศาสตร์. ปีที่ 29, ฉบับที่ 1 ( ม.ค. - มี.ค. 2554), 73-80 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/3327 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic การดูแลสุขภาพชุมชน
โครงการพยาบาลชุมชนเพื่อชุมชน
วารสารพยาบาลศาสตร์
๋Journal of Nursing Science
Open Access article
spellingShingle การดูแลสุขภาพชุมชน
โครงการพยาบาลชุมชนเพื่อชุมชน
วารสารพยาบาลศาสตร์
๋Journal of Nursing Science
Open Access article
กีรดา ไกรนุวัตร
Kerada Krainuwat
เสาวรส มีกุศล
Saovaros Meekusol
ปนัดดา ปริยฑฤฆ
Panudda Priyatruk
การดูแลสุขภาพผู้เจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในชุมชน: มุมมองของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในชุมชน
description บทคัดย่อ วัตถุประสงค์: เพื่อค้นหาทุนสังคมที่มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของประชาชนที่เจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงศึกษาวิธีที่ผู้เจ็บป่วยใช้ค้นหาความรู้ในการดูแลสุขภาพและรูปแบบการให้บริการสุขภาพตลอดจนความต้องการบริการสุขภาพของประชาชน รูปแบบการวิจัย: การวิจัยเชิงคุณภาพ วิธีการดำเนินการวิจัย: ประชากรเป้าหมายคือชาวสามพราน 20 คน เก็บข้อมูลผ่านการสังเกตสำรวจชุมชนและสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหาและสอบทานข้อมูลจากผู้ให้ข้อมูลหลัก ผลการวิจัย: ทุนสังคมที่มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของประชาชนได้แก่ องค์การบริหารส่วนตำบล สถานีอนามัย ชมรมผู้สุงอายุและคณะพยาบาล ศาสตร์ ประชาชนที่เจ็บป่วยเรียนรู้การดูแลสุขภาพจากเจ้าหน้าที่สุขภาพ สื่อสิ่งพิมพ์ คุยกับผู้ที่เป็นโรคเดียวกันและอาการของตนเองบริการสุขภาพที่ประชาชนอยากได้คือบริการให้ความรู้และเสริมทักษะในบรรยากาศที่คุ้นเคยและการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน สรุปและข้อเสนอแนะ: การดูแลสุขภาพของผู้เจ็บป่วยในชุมชนทำได้เต็มที่ เมื่อมีการประสานความร่วมมือระหว่างทุนสังคมภายในและนอกชุมชนทีมผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะดังนี้ 1) กระตุ้นประชาชนที่เจ็บป่วยเข้ามามีส่วนร่วมในการเสนอความคิดหรือร่วมจัดโครงการดูแลสุขภาพเพิ่มขึ้น 2) องค์การบริหารส่วนตำบลควรมีนโยบายและแผนยุทธศาสตร์รองรับพยาบาลชุมชนที่จะจบกลับมาทำงานเพื่อให้การดูแลสุขภาพเป็นไปตามเป้าหมาย
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาการพยาบาลสาธารณสุขศาสตร์
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาการพยาบาลสาธารณสุขศาสตร์
กีรดา ไกรนุวัตร
Kerada Krainuwat
เสาวรส มีกุศล
Saovaros Meekusol
ปนัดดา ปริยฑฤฆ
Panudda Priyatruk
format Article
author กีรดา ไกรนุวัตร
Kerada Krainuwat
เสาวรส มีกุศล
Saovaros Meekusol
ปนัดดา ปริยฑฤฆ
Panudda Priyatruk
author_sort กีรดา ไกรนุวัตร
title การดูแลสุขภาพผู้เจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในชุมชน: มุมมองของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในชุมชน
title_short การดูแลสุขภาพผู้เจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในชุมชน: มุมมองของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในชุมชน
title_full การดูแลสุขภาพผู้เจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในชุมชน: มุมมองของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในชุมชน
title_fullStr การดูแลสุขภาพผู้เจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในชุมชน: มุมมองของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในชุมชน
title_full_unstemmed การดูแลสุขภาพผู้เจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในชุมชน: มุมมองของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในชุมชน
title_sort การดูแลสุขภาพผู้เจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในชุมชน: มุมมองของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในชุมชน
publishDate 2018
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/3327
_version_ 1764209765054939136