ประสิทธิผลของโปรแกรมการอบรมความรู้และทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเองต่อความเชื่อด้านสุขภาพและการตรวจเต้านมด้วยตนเองของอาสาสมัครสาธารณสุขสตรีในชุมชน

วัตุถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการอบรมความรู้และทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเองต่อความเชื่อด้านสุขภาพของกลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขสตรีในชุมชน รูปแบบการวิจัย: การวิจัยกึ่งทดลอง วิธีดําเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นอาสาสมัครสาธารณสุขสตรีในชุมชนเขตกรุงเทพมหานคร จํานวน 30 คน อายุระหว่าง 41-67 ปี...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: สิริรัตน์ ฉัตรชัยสุชา, Sirirat Chatchaisucha, คนึงนิจ พงศ์ถาวรกมล, Kanaungnit Pongthavornkamol, กุลชลี พิมพา, Kunchalee Pimpa, สุพัตรา พรสุขสว่าง, Supattra Pornsuksawang
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาการพยาบาลรากฐาน
Format: Article
Language:Thai
Published: 2018
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/3385
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.3385
record_format dspace
spelling th-mahidol.33852023-03-31T00:50:41Z ประสิทธิผลของโปรแกรมการอบรมความรู้และทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเองต่อความเชื่อด้านสุขภาพและการตรวจเต้านมด้วยตนเองของอาสาสมัครสาธารณสุขสตรีในชุมชน The Effectiveness of a Breast Self-Examination Educational Program on Knowledge, Health Beliefs and Practices in Community Health Volunteer สิริรัตน์ ฉัตรชัยสุชา Sirirat Chatchaisucha คนึงนิจ พงศ์ถาวรกมล Kanaungnit Pongthavornkamol กุลชลี พิมพา Kunchalee Pimpa สุพัตรา พรสุขสว่าง Supattra Pornsuksawang มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาการพยาบาลรากฐาน มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาการพยาบาลอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลศิริราช. ศูนย์ถันยรักษ์ สํานักอนามัยกรุงเทพมหานคร. ศูนย์บริการสาธารณสุข 29 การตรวจเต้านมด้วยตนเอง การคัดกรองมะเร็งเต้านมเริ่มต้น ความเชื่อด้านสุขภาพ วารสารพยาบาลศาสตร์ Open Access article Journal of Nursing Science วัตุถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการอบรมความรู้และทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเองต่อความเชื่อด้านสุขภาพของกลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขสตรีในชุมชน รูปแบบการวิจัย: การวิจัยกึ่งทดลอง วิธีดําเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นอาสาสมัครสาธารณสุขสตรีในชุมชนเขตกรุงเทพมหานคร จํานวน 30 คน อายุระหว่าง 41-67 ปี โดยการสุ่มแบบสะดวก เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบมีการวัดซ้ำ ผลการวิจัย: พบว่าความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งเต้านมก่อนและหลังการอบรมเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ ทั้ง 3 ระยะ คือ หลังการอบรมทันที หลัง 6 เดือนและ 1 ปี (p < .01) พฤติกรรมการตรวจเต้านมด้วยตนเองเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ หลังการอบรม 1 ปี (p < .01) พฤติกรรมการตรวจเต้านมด้วยตนเอง (BSE) มีความสัมพันธ์เชิงบวกอย่างมีนัยสําคัญกับความรู้เรื่องโรคฯ (r = 0.300, p < .01) และมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับความเชื่อด้านการรับรู้ประโยชน์ฯ (r = 0.145, p < .01) การรับรู้อุปสรรคฯ (r = 0.193, p < .01) และการรับรู้สมรรถนะฯ (r = 0.225, P < .01) สรุปและข้อเสนอแนะ: ผลจากการวิจัยแสดงให้เห็นว่าโปรแกรมการอบรมความรู้เรื่องการตรวจเต้านมด้วยตนเองมีประโยชน์และสามารถนําไปใช้ในการส่งเสริมความรู้และพฤติกรรมการตรวจเต้านมด้วยตนเอง จึงควรจัดโครงการอบรมความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งเต้านม และการฝึกทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเองแก่สตรีกลุ่มเสี่ยงในชุมชนอื่นๆ ต่อไป Purpose: This study examined the effectiveness of a Breast SelfExamination (BSE) educational program on knowledge about breast cancer, BSE practice and health beliefs in community health volunteer women before and after attending the program. Design: Quasi-experimental research. Methods: The participants were 30 health volunteer women aged between 41-67 years who lived in one urban community of Bangkok. Data were collected using the questionnaires developed by the investigators. Descriptive statistics using percentage, mean, and standard deviation Repeated Measures ANOVA were used for data analysis. Main findings: The results showed that knowledge about breast cancer screening significantly increased at all three time points of measurement: immediately, six months and 1 year after the educational program (p < .01). BSE practice significantly increased at 1 year after an educational program (p < .01). Knowledge about breast cancer (r = 0.300 p < .01), health beliefs about BSE including perceived benefits of BSE (r = 0.145, p < .01), the perceived barriers of BSE (r = 0.193, p < .01) and perceived self-efficacy (r = 0.225, p < .01) were significantly correlated with BSE practice.Conclusion and recommendations: The results obtained from this study indicate the benefit and appropriateness of a BSE educational program in promoting knowledge and engaging BSE practice among community health volunteer women. It is therefore recommended the BSE program be implemented in particular for high risk groups of women in other communities, and further evaluation of the program be undertaken. 2018-01-25T09:34:52Z 2018-01-25T09:34:52Z 2018-01-25 2554 Article วารสารพยาบาลศาสตร์. ปีที่ 29, ฉบับที่ 3 (ก.ค. - ก.ย. 2554), 64-74 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/3385 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic การตรวจเต้านมด้วยตนเอง
การคัดกรองมะเร็งเต้านมเริ่มต้น
ความเชื่อด้านสุขภาพ
วารสารพยาบาลศาสตร์
Open Access article
Journal of Nursing Science
spellingShingle การตรวจเต้านมด้วยตนเอง
การคัดกรองมะเร็งเต้านมเริ่มต้น
ความเชื่อด้านสุขภาพ
วารสารพยาบาลศาสตร์
Open Access article
Journal of Nursing Science
สิริรัตน์ ฉัตรชัยสุชา
Sirirat Chatchaisucha
คนึงนิจ พงศ์ถาวรกมล
Kanaungnit Pongthavornkamol
กุลชลี พิมพา
Kunchalee Pimpa
สุพัตรา พรสุขสว่าง
Supattra Pornsuksawang
ประสิทธิผลของโปรแกรมการอบรมความรู้และทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเองต่อความเชื่อด้านสุขภาพและการตรวจเต้านมด้วยตนเองของอาสาสมัครสาธารณสุขสตรีในชุมชน
description วัตุถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการอบรมความรู้และทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเองต่อความเชื่อด้านสุขภาพของกลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขสตรีในชุมชน รูปแบบการวิจัย: การวิจัยกึ่งทดลอง วิธีดําเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นอาสาสมัครสาธารณสุขสตรีในชุมชนเขตกรุงเทพมหานคร จํานวน 30 คน อายุระหว่าง 41-67 ปี โดยการสุ่มแบบสะดวก เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบมีการวัดซ้ำ ผลการวิจัย: พบว่าความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งเต้านมก่อนและหลังการอบรมเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ ทั้ง 3 ระยะ คือ หลังการอบรมทันที หลัง 6 เดือนและ 1 ปี (p < .01) พฤติกรรมการตรวจเต้านมด้วยตนเองเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ หลังการอบรม 1 ปี (p < .01) พฤติกรรมการตรวจเต้านมด้วยตนเอง (BSE) มีความสัมพันธ์เชิงบวกอย่างมีนัยสําคัญกับความรู้เรื่องโรคฯ (r = 0.300, p < .01) และมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับความเชื่อด้านการรับรู้ประโยชน์ฯ (r = 0.145, p < .01) การรับรู้อุปสรรคฯ (r = 0.193, p < .01) และการรับรู้สมรรถนะฯ (r = 0.225, P < .01) สรุปและข้อเสนอแนะ: ผลจากการวิจัยแสดงให้เห็นว่าโปรแกรมการอบรมความรู้เรื่องการตรวจเต้านมด้วยตนเองมีประโยชน์และสามารถนําไปใช้ในการส่งเสริมความรู้และพฤติกรรมการตรวจเต้านมด้วยตนเอง จึงควรจัดโครงการอบรมความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งเต้านม และการฝึกทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเองแก่สตรีกลุ่มเสี่ยงในชุมชนอื่นๆ ต่อไป
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาการพยาบาลรากฐาน
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาการพยาบาลรากฐาน
สิริรัตน์ ฉัตรชัยสุชา
Sirirat Chatchaisucha
คนึงนิจ พงศ์ถาวรกมล
Kanaungnit Pongthavornkamol
กุลชลี พิมพา
Kunchalee Pimpa
สุพัตรา พรสุขสว่าง
Supattra Pornsuksawang
format Article
author สิริรัตน์ ฉัตรชัยสุชา
Sirirat Chatchaisucha
คนึงนิจ พงศ์ถาวรกมล
Kanaungnit Pongthavornkamol
กุลชลี พิมพา
Kunchalee Pimpa
สุพัตรา พรสุขสว่าง
Supattra Pornsuksawang
author_sort สิริรัตน์ ฉัตรชัยสุชา
title ประสิทธิผลของโปรแกรมการอบรมความรู้และทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเองต่อความเชื่อด้านสุขภาพและการตรวจเต้านมด้วยตนเองของอาสาสมัครสาธารณสุขสตรีในชุมชน
title_short ประสิทธิผลของโปรแกรมการอบรมความรู้และทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเองต่อความเชื่อด้านสุขภาพและการตรวจเต้านมด้วยตนเองของอาสาสมัครสาธารณสุขสตรีในชุมชน
title_full ประสิทธิผลของโปรแกรมการอบรมความรู้และทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเองต่อความเชื่อด้านสุขภาพและการตรวจเต้านมด้วยตนเองของอาสาสมัครสาธารณสุขสตรีในชุมชน
title_fullStr ประสิทธิผลของโปรแกรมการอบรมความรู้และทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเองต่อความเชื่อด้านสุขภาพและการตรวจเต้านมด้วยตนเองของอาสาสมัครสาธารณสุขสตรีในชุมชน
title_full_unstemmed ประสิทธิผลของโปรแกรมการอบรมความรู้และทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเองต่อความเชื่อด้านสุขภาพและการตรวจเต้านมด้วยตนเองของอาสาสมัครสาธารณสุขสตรีในชุมชน
title_sort ประสิทธิผลของโปรแกรมการอบรมความรู้และทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเองต่อความเชื่อด้านสุขภาพและการตรวจเต้านมด้วยตนเองของอาสาสมัครสาธารณสุขสตรีในชุมชน
publishDate 2018
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/3385
_version_ 1763491198286168064