ความรับผิดตามกฎหมายของแพทย์ในการรักษาผู้ป่วยกับหลักวิธีปฏิบัติ เพื่อเป็นเลิศทางการแพทย์
บทความนี้มีวัตถุประสงค์ในการวิเคราะห์ความรับผิดทางการแพทย์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน ประเด็นปัญหาที่แพทย์ผู้ให้การรักษาผู้ป่วยอย่างมีมาตรฐานแต่ถูกฟ้องต่อศาลยุติธรรมเนื่องจากผู้ป่วยถึง แก่ความตาย หรือได้รับความเสียหายแก่กาย ตามหลักละเมิดมาตรา 420 ประมวลกฎหมายแพ่งและ พาณิชย์ ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาพัฒนาการ...
Saved in:
Main Authors: | , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Article |
Language: | Thai |
Published: |
2018
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/36918 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | Thai |
Summary: | บทความนี้มีวัตถุประสงค์ในการวิเคราะห์ความรับผิดทางการแพทย์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน
ประเด็นปัญหาที่แพทย์ผู้ให้การรักษาผู้ป่วยอย่างมีมาตรฐานแต่ถูกฟ้องต่อศาลยุติธรรมเนื่องจากผู้ป่วยถึง
แก่ความตาย หรือได้รับความเสียหายแก่กาย ตามหลักละเมิดมาตรา 420 ประมวลกฎหมายแพ่งและ
พาณิชย์ ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาพัฒนาการจัดการกับปัญหาการฟ้องคดีทุรเวชปฏิบัติทางการแพทย์มี
การปรับใช้หลักเกณฑ์ทางกฎหมายตั้งแต่การใช้หลักละเมิดทางแพ่ง หลักความรับผิดตามสัญญา หลัก
ความรับผิดทางอาญา อนึ่งกฎหมายอังกฤษ และอเมริกาในส่วนของมาตรฐานการรักษาโดยไม่พูดถึงหลัก
หรือใช้แนวคิด “Best Practice” อาจนำหลักกฎหมายอังกฤษที่เกี่ยวกับมาตรฐานการประกอบวิชาชีพ
แพทย์มาเป็นต้นแบบสำคัญในการวินิจฉัยความรับผิดทางการแพทย์ โดยมุ่งสู่การปรับใช้ หลักการ
พิจารณา ข้อดี ข้อเสียของการรักษาผู้ป่วย ความรุนแรงของโรค สถานะทางการเงินของผู้ป่วย โดยเฉพาะ
อย่างยิ่งหลักการสร้างความเข้าใจของผู้ป่วยต่อกระบวนการรักษาพยาบาล และผลข้างเคียงที่เกี่ยวข้อง
รวมถึงการที่แพทย์จะต้องใช้องค์ความรู้ในการวินิจฉัยโรค ปัญหาการที่แพทย์ถูกฟ้องคดีต่อศาลยุติธรรม
ไม่ว่าจะเป็นคดีแพ่ง คดีอาญา หรือคดีตามกฎหมายอื่นใดย่อมถือเป็นประเด็นสำคัญที่ควรมีการศึกษา
เพื่อพัฒนาการตีความกฎหมายที่เกี่ยวข้องเพื่อให้เกิดความเป็นธรรมแก่ทั้งแพทย์ และผู้ป่วยต่อไป |
---|