การตัดสินใจใช้สิทธิทำหนังสือแสดงเจตนาไม่ประสงค์จะรับบริการสาธารณสุขที่เป็นไปเพื่อยืดการตายในวาระสุดท้ายของชีวิตของผู้ป่วยทหารผ่านศึก
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการตัดสินใจใช้สิทธิทำหนังสือ แสดงเจตนาไม่ประสงค์จะรับบริการสาธารณสุขที่เป็นไปเพื่อยืดการตายในวาระสุดท้ายของชีวิตของ ผู้ป่วยทหารผ่านศึก ซึ่งกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ศึกษาคือผู้ป่วยทหารผ่านศึกที่พักรักษาตัวในหอผู้ป่วยอัมพาต ของโรงพยาบาลทหารผ่...
Saved in:
Main Authors: | , , , , , , , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Article |
Language: | Thai |
Published: |
2018
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/36919 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | Thai |
id |
th-mahidol.36919 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-mahidol.369192023-03-30T20:39:25Z การตัดสินใจใช้สิทธิทำหนังสือแสดงเจตนาไม่ประสงค์จะรับบริการสาธารณสุขที่เป็นไปเพื่อยืดการตายในวาระสุดท้ายของชีวิตของผู้ป่วยทหารผ่านศึก Decision Making to Refuse Medical Intervention in Living Will among Veteran Patients รุ่งมณี พุกไพจิตร์ สุธี อยู่สถาพร ฉัตรสุมน พฤฒิภิญโญ นิทัศน์ ศิริโชติรัตน์ Rungmanee Pukpaijit Suthee Usathaporn Chardsumon Prutipinyo Nithat Sirichotiratana มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาบริหารงานสาธารณสุข การตัดสินใจ การใช้สิทธิ ทำหนังสือแสดงเจตนาไม่ประสงค์จะรับบริการสาธารณสุข วาระสุดท้ายของชีวิต Open Access article วารสารกฎหมายสุขภาพและสาธารณสุข Public Health & Health Laws Journal การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการตัดสินใจใช้สิทธิทำหนังสือ แสดงเจตนาไม่ประสงค์จะรับบริการสาธารณสุขที่เป็นไปเพื่อยืดการตายในวาระสุดท้ายของชีวิตของ ผู้ป่วยทหารผ่านศึก ซึ่งกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ศึกษาคือผู้ป่วยทหารผ่านศึกที่พักรักษาตัวในหอผู้ป่วยอัมพาต ของโรงพยาบาลทหารผ่านศึกจำนวน 40 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสังเกต และแบบ สัมภาษณ์เชิงลึก ผลการศึกษา พบว่า ผู้ป่วยทหารผ่านศึกส่วนใหญ่มีอายุในช่วง 51-60 ปี นับถือศาสนาพุทธ เป็นบัตรทหารผ่านศึกชั้น 4 มากที่สุด มีสภาพความพิการ คือ อัมพาตครึ่งท่อนมากที่สุด มีระยะเวลารับ การรักษามากที่สุดคือ 20 ปีขึ้นไป ความสัมพันธ์ของผู้ป่วยและครอบครัว ผู้ป่วยทหารผ่านศึกส่วนใหญ่ เลิกกับภรรยาเนื่องจากความพิการด้านร่างกาย จากแบบประเมิน The Barthel Activity of Daily Living scale พบว่า ผู้ป่วยทหารผ่านศึกมีระดับการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันคือ สามารถทำกิจวัตร ประจำวันได้เองในระดับปานกลางมากที่สุด ผู้ป่วยทหารผ่านศึกเคยประสบการณ์กับภาวะใกล้ตายด้วย ตนเอง และเคยมีประสบการณ์เห็นผู้ที่อยู่ในภาวะใกล้เสียชีวิต หรือเสียชีวิต ผู้ป่วยทหารผ่านศึกทุกคนยัง ขาดความรู้ แต่ทุกคนก็ตัดสินใจใช้สิทธิทำหนังสือแสดงเจตนาไม่ประสงค์จะรับบริการสาธารณสุขที่ เป็นไปเพื่อยืดการตายในวาระสุดท้ายของชีวิตโดยบริการสาธารณสุขที่ผู้ป่วยทหารผ่านศึกต้องการที่จะ ปฏิเสธมากที่สุดคือการช่วยฟื้นคืนชีพ และการใส่ท่อช่วยหายใจตามลำดับ จากผลการศึกษามีข้อเสนอแนะคือ ควรมีการส่งเสริมให้ผู้ป่วยทหารผ่านศึกมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการทำหนังสือแสดงเจตนาไม่ประสงค์จะรับบริการสาธารณสุขที่เป็นไปเพื่อยืดการตายในวาระสุดท้ายของชีวิตด้านเอกสารสำหรับผู้ป่วยทหารผ่านศึกที่จะประสงค์จะใช้สิทธิในการแสดงเจตนาดังกล่าว This qualitative research aimed at studying decision making to refuse medical intervention in living will directives among military veteran patients. The samples were 40 veteran in-patients in the Acute Stroke Unit in Veterans General Hospital. The research tools were observations and in-depth interviews. The results found that most veteran patients were Buddhist, between 51-60 years of age, held a Veterans Identification Card rank 4, and had paraplegia. The longest treatment for these patients lasted for over 20 years and their family relationships were affected. Most veteran patients separated from their wives due to their physical disability. From the assessment using the Barthel Activities of Daily Living Scale and observations, these veteran patients were able to perform daily routines on their own at a moderate level. They had near death experiences and witnessed deceased people or people with near death conditions before. Nonetheless, although every veteran patient still lacked knowledge in living will, they decided to refuse medical intervention in their living wills. The top two refused health services were resuscitation and intubation. It is recommended from the study that knowledge and understanding regarding refusal of medical intervention in living wills should be promoted, and related documents should be provided to veteran patients who desire to exercise their refusal rights. 2018-11-30T07:23:32Z 2018-11-30T07:23:32Z 2561-11-30 2561 Article วารสารกฎหมายสุขภาพและสาธารณสุข. ปีที่ 4, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-เม.ย. 2561), 1-14 2408-249X https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/36919 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf |
institution |
Mahidol University |
building |
Mahidol University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Mahidol University Library |
collection |
Mahidol University Institutional Repository |
language |
Thai |
topic |
การตัดสินใจ การใช้สิทธิ ทำหนังสือแสดงเจตนาไม่ประสงค์จะรับบริการสาธารณสุข วาระสุดท้ายของชีวิต Open Access article วารสารกฎหมายสุขภาพและสาธารณสุข Public Health & Health Laws Journal |
spellingShingle |
การตัดสินใจ การใช้สิทธิ ทำหนังสือแสดงเจตนาไม่ประสงค์จะรับบริการสาธารณสุข วาระสุดท้ายของชีวิต Open Access article วารสารกฎหมายสุขภาพและสาธารณสุข Public Health & Health Laws Journal รุ่งมณี พุกไพจิตร์ สุธี อยู่สถาพร ฉัตรสุมน พฤฒิภิญโญ นิทัศน์ ศิริโชติรัตน์ Rungmanee Pukpaijit Suthee Usathaporn Chardsumon Prutipinyo Nithat Sirichotiratana การตัดสินใจใช้สิทธิทำหนังสือแสดงเจตนาไม่ประสงค์จะรับบริการสาธารณสุขที่เป็นไปเพื่อยืดการตายในวาระสุดท้ายของชีวิตของผู้ป่วยทหารผ่านศึก |
description |
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการตัดสินใจใช้สิทธิทำหนังสือ
แสดงเจตนาไม่ประสงค์จะรับบริการสาธารณสุขที่เป็นไปเพื่อยืดการตายในวาระสุดท้ายของชีวิตของ
ผู้ป่วยทหารผ่านศึก ซึ่งกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ศึกษาคือผู้ป่วยทหารผ่านศึกที่พักรักษาตัวในหอผู้ป่วยอัมพาต
ของโรงพยาบาลทหารผ่านศึกจำนวน 40 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสังเกต และแบบ
สัมภาษณ์เชิงลึก
ผลการศึกษา พบว่า ผู้ป่วยทหารผ่านศึกส่วนใหญ่มีอายุในช่วง 51-60 ปี นับถือศาสนาพุทธ
เป็นบัตรทหารผ่านศึกชั้น 4 มากที่สุด มีสภาพความพิการ คือ อัมพาตครึ่งท่อนมากที่สุด มีระยะเวลารับ
การรักษามากที่สุดคือ 20 ปีขึ้นไป ความสัมพันธ์ของผู้ป่วยและครอบครัว ผู้ป่วยทหารผ่านศึกส่วนใหญ่
เลิกกับภรรยาเนื่องจากความพิการด้านร่างกาย จากแบบประเมิน The Barthel Activity of Daily
Living scale พบว่า ผู้ป่วยทหารผ่านศึกมีระดับการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันคือ สามารถทำกิจวัตร
ประจำวันได้เองในระดับปานกลางมากที่สุด ผู้ป่วยทหารผ่านศึกเคยประสบการณ์กับภาวะใกล้ตายด้วย
ตนเอง และเคยมีประสบการณ์เห็นผู้ที่อยู่ในภาวะใกล้เสียชีวิต หรือเสียชีวิต ผู้ป่วยทหารผ่านศึกทุกคนยัง
ขาดความรู้ แต่ทุกคนก็ตัดสินใจใช้สิทธิทำหนังสือแสดงเจตนาไม่ประสงค์จะรับบริการสาธารณสุขที่
เป็นไปเพื่อยืดการตายในวาระสุดท้ายของชีวิตโดยบริการสาธารณสุขที่ผู้ป่วยทหารผ่านศึกต้องการที่จะ
ปฏิเสธมากที่สุดคือการช่วยฟื้นคืนชีพ และการใส่ท่อช่วยหายใจตามลำดับ
จากผลการศึกษามีข้อเสนอแนะคือ ควรมีการส่งเสริมให้ผู้ป่วยทหารผ่านศึกมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการทำหนังสือแสดงเจตนาไม่ประสงค์จะรับบริการสาธารณสุขที่เป็นไปเพื่อยืดการตายในวาระสุดท้ายของชีวิตด้านเอกสารสำหรับผู้ป่วยทหารผ่านศึกที่จะประสงค์จะใช้สิทธิในการแสดงเจตนาดังกล่าว |
author2 |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาบริหารงานสาธารณสุข |
author_facet |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาบริหารงานสาธารณสุข รุ่งมณี พุกไพจิตร์ สุธี อยู่สถาพร ฉัตรสุมน พฤฒิภิญโญ นิทัศน์ ศิริโชติรัตน์ Rungmanee Pukpaijit Suthee Usathaporn Chardsumon Prutipinyo Nithat Sirichotiratana |
format |
Article |
author |
รุ่งมณี พุกไพจิตร์ สุธี อยู่สถาพร ฉัตรสุมน พฤฒิภิญโญ นิทัศน์ ศิริโชติรัตน์ Rungmanee Pukpaijit Suthee Usathaporn Chardsumon Prutipinyo Nithat Sirichotiratana |
author_sort |
รุ่งมณี พุกไพจิตร์ |
title |
การตัดสินใจใช้สิทธิทำหนังสือแสดงเจตนาไม่ประสงค์จะรับบริการสาธารณสุขที่เป็นไปเพื่อยืดการตายในวาระสุดท้ายของชีวิตของผู้ป่วยทหารผ่านศึก |
title_short |
การตัดสินใจใช้สิทธิทำหนังสือแสดงเจตนาไม่ประสงค์จะรับบริการสาธารณสุขที่เป็นไปเพื่อยืดการตายในวาระสุดท้ายของชีวิตของผู้ป่วยทหารผ่านศึก |
title_full |
การตัดสินใจใช้สิทธิทำหนังสือแสดงเจตนาไม่ประสงค์จะรับบริการสาธารณสุขที่เป็นไปเพื่อยืดการตายในวาระสุดท้ายของชีวิตของผู้ป่วยทหารผ่านศึก |
title_fullStr |
การตัดสินใจใช้สิทธิทำหนังสือแสดงเจตนาไม่ประสงค์จะรับบริการสาธารณสุขที่เป็นไปเพื่อยืดการตายในวาระสุดท้ายของชีวิตของผู้ป่วยทหารผ่านศึก |
title_full_unstemmed |
การตัดสินใจใช้สิทธิทำหนังสือแสดงเจตนาไม่ประสงค์จะรับบริการสาธารณสุขที่เป็นไปเพื่อยืดการตายในวาระสุดท้ายของชีวิตของผู้ป่วยทหารผ่านศึก |
title_sort |
การตัดสินใจใช้สิทธิทำหนังสือแสดงเจตนาไม่ประสงค์จะรับบริการสาธารณสุขที่เป็นไปเพื่อยืดการตายในวาระสุดท้ายของชีวิตของผู้ป่วยทหารผ่านศึก |
publishDate |
2018 |
url |
https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/36919 |
_version_ |
1763496949317632000 |