งานดนตรีไทยสากลของครูมงคล อมาตยกุล : ลักษณะเด่นในอุปนิสัย ความรอบรู้ ความสำเร็จในการสร้างวงดนตรีและนักร้องเพลงลูกทุ่ง

วิทยานิพนธ์เรื่องนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาชีวประวัติและงานของครูมงคล อมาตยกุล ในการบริหาร ควบคุมวงดนตรีการฝึกหัดขัดเกลาบรรดาศิลปินที่อยู่ในสังกัดจนประสบความสำเร็จจนเป็นนักร้องระดับ ชาติจำนวนมาก รวมไปถึงความสำเร็จในการสร้างคนทำงานดนตรีออกสู่สาธารณะ โดยใช้ระเบียบวิจัย เชิงคุณภาพในการศึกษา ได้รวบรวมประ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: กฤตวิทย์ ภูมิถาวร, Krittavit Pommitavon
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. หอสมุดและคลังความรู้มหาวิทยาลัยมหิดล
Format: Article
Language:Thai
Published: 2019
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/40548
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.40548
record_format dspace
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic การสร้างวงดนตรี
นักร้องเพลงลูกทุ่ง
มงคล อมาตยกุล
การควบคุมวงดนตรี
วงจุฬารัตน์
เพลงลูกทุ่ง
Journal of Cultural Approach
spellingShingle การสร้างวงดนตรี
นักร้องเพลงลูกทุ่ง
มงคล อมาตยกุล
การควบคุมวงดนตรี
วงจุฬารัตน์
เพลงลูกทุ่ง
Journal of Cultural Approach
กฤตวิทย์ ภูมิถาวร
Krittavit Pommitavon
งานดนตรีไทยสากลของครูมงคล อมาตยกุล : ลักษณะเด่นในอุปนิสัย ความรอบรู้ ความสำเร็จในการสร้างวงดนตรีและนักร้องเพลงลูกทุ่ง
description วิทยานิพนธ์เรื่องนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาชีวประวัติและงานของครูมงคล อมาตยกุล ในการบริหาร ควบคุมวงดนตรีการฝึกหัดขัดเกลาบรรดาศิลปินที่อยู่ในสังกัดจนประสบความสำเร็จจนเป็นนักร้องระดับ ชาติจำนวนมาก รวมไปถึงความสำเร็จในการสร้างคนทำงานดนตรีออกสู่สาธารณะ โดยใช้ระเบียบวิจัย เชิงคุณภาพในการศึกษา ได้รวบรวมประวัติส่วนตัว ผลงานทั้งหลายและได้ศึกษาเจาะลึกด้านดนตรี จากตัวอย่าง 6 ผลงานเพลงที่ท่านสร้างไว้ล้วนเป็นเพลงที่ได้รับรางวัลหรือได้จากการคัดเลือกจาก ผู้ทรงคุณวุฒิคือ เพลงเย้ยฟ้าท้าดิน ช่างร้ายเหลือ ความหลังฝังใจ ตัวไกลใจยัง อยากจะบอกรักแต่ไม่กล้า และนกเขาขันฉันครวญ ครูมงคล อมาตยกุล เกิดวันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2461 ที่อำเภอพระนคร เรียนหนังสือที่ วัดชนะสงคราม โรงเรียนหอวัง โรงเรียนประทุมคงคา โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย คณะสัตวแพทย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จนถึงชั้นปี4 (พ.ศ. 2485–2486) เกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 มหาวิทยาลัยปิด และเพราะเหตุที่รักวิชาดนตรีมาก ในช่วงวัยเด็กและวัยรุ่นได้มีโอกาสร่ำเรียนเปียโน และวิธีการประสาน เสียง กับครูหลายคน ครั้นมาว่างงานว่างเรียนจึงเริ่มสนใจดนตรีอย่างจริงจัง ระหว่างสงครามได้สร้างวง ดนตรีรับงานย่อยที่นครสวรรค์แล้วทิ้งการเรียนจากมหาวิทยาลัย มาสร้างครอบครัวกับทำอาชีพดนตรี อย่างเดียว ในปี2500 ได้สร้างวงดนตรีจุฬารัตน์เป็นวงประเภท Big Band มีศิลปินหลัก ได้แก่ ปอง ปรีดา, นคร ถนอมทรัพย์, ทูล ทองใจ และ พร ภิรมย์ ทั้ง 4 คนนี้ท่านตั้งสมญาว่า สี่ทหารเสือของจุฬารัตน์ นักร้องที่มีชื่อเสียงของจุฬารัตน์ ได้แก่ ชาย เมืองสิงห์, สังข์ทอง สีใส, ประจวบ จำปาทอง และอีกหลาย ท่านที่ได้รับการยกย่องเป็นศิลปินแห่งชาติจุฬารัตน์ยุบวงเมื่อปีพ.ศ. 2516 เนื่องจากสุขภาพของครูมงคล ไม่อำนวย บรรดาศิษย์ได้ช ่วยกันช ่วยเหลือในการรักษาจนถึงที่สุด และถึงแก ่กรรมได้รับพระราชทาน เพลิงศพวันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2533 ที่วัดมงกุฏกษัติการาม รวมอายุทั้งสิ้นได้72 ปี บทเพลง 6 ชิ้น ที่คัดกรองมาศึกษาในรายละเอียด พบว่า มีโครงสร้างสังคีตลักษณ์แบบ AABA และ ABCD อัตราจังหวะ 3/4 และ 4/4 ใช้กระสวนจังหวะหลายรูปแบบต่อ 1 เพลง เคลื่อนแบบตาม ขั้นมากกว่าข้ามขั้น มีพิสัยระหว่าง 11 Perfect ถึง 12 Perfect ในองค์รวม พบว่านิยมใช้บันไดเสียง เพนทาโทนิคค่อนข้างถี่ นอกจากนี้คำร้องของท่านยังใช้ภาษาไทยที่มีสัมผัสงดงาม และเพลงส่วนมากมักจบ ลงในจังหวะตกเสมอ
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. หอสมุดและคลังความรู้มหาวิทยาลัยมหิดล
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. หอสมุดและคลังความรู้มหาวิทยาลัยมหิดล
กฤตวิทย์ ภูมิถาวร
Krittavit Pommitavon
format Article
author กฤตวิทย์ ภูมิถาวร
Krittavit Pommitavon
author_sort กฤตวิทย์ ภูมิถาวร
title งานดนตรีไทยสากลของครูมงคล อมาตยกุล : ลักษณะเด่นในอุปนิสัย ความรอบรู้ ความสำเร็จในการสร้างวงดนตรีและนักร้องเพลงลูกทุ่ง
title_short งานดนตรีไทยสากลของครูมงคล อมาตยกุล : ลักษณะเด่นในอุปนิสัย ความรอบรู้ ความสำเร็จในการสร้างวงดนตรีและนักร้องเพลงลูกทุ่ง
title_full งานดนตรีไทยสากลของครูมงคล อมาตยกุล : ลักษณะเด่นในอุปนิสัย ความรอบรู้ ความสำเร็จในการสร้างวงดนตรีและนักร้องเพลงลูกทุ่ง
title_fullStr งานดนตรีไทยสากลของครูมงคล อมาตยกุล : ลักษณะเด่นในอุปนิสัย ความรอบรู้ ความสำเร็จในการสร้างวงดนตรีและนักร้องเพลงลูกทุ่ง
title_full_unstemmed งานดนตรีไทยสากลของครูมงคล อมาตยกุล : ลักษณะเด่นในอุปนิสัย ความรอบรู้ ความสำเร็จในการสร้างวงดนตรีและนักร้องเพลงลูกทุ่ง
title_sort งานดนตรีไทยสากลของครูมงคล อมาตยกุล : ลักษณะเด่นในอุปนิสัย ความรอบรู้ ความสำเร็จในการสร้างวงดนตรีและนักร้องเพลงลูกทุ่ง
publishDate 2019
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/40548
_version_ 1763496561035182080
spelling th-mahidol.405482023-03-31T09:12:46Z งานดนตรีไทยสากลของครูมงคล อมาตยกุล : ลักษณะเด่นในอุปนิสัย ความรอบรู้ ความสำเร็จในการสร้างวงดนตรีและนักร้องเพลงลูกทุ่ง Thai Popular Music Guru Mongkol Amatyakul : Characteristic, Knowledge, Wit and Successful Creator of the Music Band and Outstanding Singers กฤตวิทย์ ภูมิถาวร Krittavit Pommitavon มหาวิทยาลัยมหิดล. หอสมุดและคลังความรู้มหาวิทยาลัยมหิดล การสร้างวงดนตรี นักร้องเพลงลูกทุ่ง มงคล อมาตยกุล การควบคุมวงดนตรี วงจุฬารัตน์ เพลงลูกทุ่ง Journal of Cultural Approach วิทยานิพนธ์เรื่องนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาชีวประวัติและงานของครูมงคล อมาตยกุล ในการบริหาร ควบคุมวงดนตรีการฝึกหัดขัดเกลาบรรดาศิลปินที่อยู่ในสังกัดจนประสบความสำเร็จจนเป็นนักร้องระดับ ชาติจำนวนมาก รวมไปถึงความสำเร็จในการสร้างคนทำงานดนตรีออกสู่สาธารณะ โดยใช้ระเบียบวิจัย เชิงคุณภาพในการศึกษา ได้รวบรวมประวัติส่วนตัว ผลงานทั้งหลายและได้ศึกษาเจาะลึกด้านดนตรี จากตัวอย่าง 6 ผลงานเพลงที่ท่านสร้างไว้ล้วนเป็นเพลงที่ได้รับรางวัลหรือได้จากการคัดเลือกจาก ผู้ทรงคุณวุฒิคือ เพลงเย้ยฟ้าท้าดิน ช่างร้ายเหลือ ความหลังฝังใจ ตัวไกลใจยัง อยากจะบอกรักแต่ไม่กล้า และนกเขาขันฉันครวญ ครูมงคล อมาตยกุล เกิดวันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2461 ที่อำเภอพระนคร เรียนหนังสือที่ วัดชนะสงคราม โรงเรียนหอวัง โรงเรียนประทุมคงคา โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย คณะสัตวแพทย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จนถึงชั้นปี4 (พ.ศ. 2485–2486) เกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 มหาวิทยาลัยปิด และเพราะเหตุที่รักวิชาดนตรีมาก ในช่วงวัยเด็กและวัยรุ่นได้มีโอกาสร่ำเรียนเปียโน และวิธีการประสาน เสียง กับครูหลายคน ครั้นมาว่างงานว่างเรียนจึงเริ่มสนใจดนตรีอย่างจริงจัง ระหว่างสงครามได้สร้างวง ดนตรีรับงานย่อยที่นครสวรรค์แล้วทิ้งการเรียนจากมหาวิทยาลัย มาสร้างครอบครัวกับทำอาชีพดนตรี อย่างเดียว ในปี2500 ได้สร้างวงดนตรีจุฬารัตน์เป็นวงประเภท Big Band มีศิลปินหลัก ได้แก่ ปอง ปรีดา, นคร ถนอมทรัพย์, ทูล ทองใจ และ พร ภิรมย์ ทั้ง 4 คนนี้ท่านตั้งสมญาว่า สี่ทหารเสือของจุฬารัตน์ นักร้องที่มีชื่อเสียงของจุฬารัตน์ ได้แก่ ชาย เมืองสิงห์, สังข์ทอง สีใส, ประจวบ จำปาทอง และอีกหลาย ท่านที่ได้รับการยกย่องเป็นศิลปินแห่งชาติจุฬารัตน์ยุบวงเมื่อปีพ.ศ. 2516 เนื่องจากสุขภาพของครูมงคล ไม่อำนวย บรรดาศิษย์ได้ช ่วยกันช ่วยเหลือในการรักษาจนถึงที่สุด และถึงแก ่กรรมได้รับพระราชทาน เพลิงศพวันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2533 ที่วัดมงกุฏกษัติการาม รวมอายุทั้งสิ้นได้72 ปี บทเพลง 6 ชิ้น ที่คัดกรองมาศึกษาในรายละเอียด พบว่า มีโครงสร้างสังคีตลักษณ์แบบ AABA และ ABCD อัตราจังหวะ 3/4 และ 4/4 ใช้กระสวนจังหวะหลายรูปแบบต่อ 1 เพลง เคลื่อนแบบตาม ขั้นมากกว่าข้ามขั้น มีพิสัยระหว่าง 11 Perfect ถึง 12 Perfect ในองค์รวม พบว่านิยมใช้บันไดเสียง เพนทาโทนิคค่อนข้างถี่ นอกจากนี้คำร้องของท่านยังใช้ภาษาไทยที่มีสัมผัสงดงาม และเพลงส่วนมากมักจบ ลงในจังหวะตกเสมอ This thesis aimed to study biography and work pieces of Thai popular music master, Mr. Mongkol Amatyakul regarding his band instructing and practices which brought a great deal of success to his artists, as well as his achievement in establishing successful singers and musical works to the public. The study employed qualitative design to study his 6 awarded songs : 1) Yoei Fa Tah Din, 2) Chang Rai Luah 3) Kwam Lang Fang Chai, 4) Tua Klai Chai Yang, 5) Yak Ja Bok Rak Tae Mai Klah (Nai Duang Chai), and 6) Nok Kow Chan Kown. The study of his biography and his works revealed that Mr. Mongol Amatyakul was born on February 9th, 1918 in Pra Nakhon District, Bangkok. He accomplished his graduation in elementary (Pratom) level and early secondary level (Mattayom 1) from Wat Chanasongkram School, Mattayom 3-4 from Horwang School, and Mattayom 5-6 from Prathumkongka Scool. Later, he continued his study in pre-university level or Mattayom 8 in Suan Kularb Wittayalai School and went to Faculty of Veterinary in Chulalongkorn University. During his 4th year of university, World War II began which compelled the university to announce an academic break. Therefore, he started to participate more in his music path. He formed a band named “Chularat” and his music was performed by the renowned artists namely Mr. Pong Preeda, Mr. Nakhon Tanomsab, Mr. Toon Tongjai and Mr. Pon Pirom. These 4 artists were known as “The Four Musketeers” of Chularat Band. Besides his work with the band, he contributed success to several Thai artists. Chularat Band had been performing ever since until 1973. The band broke up due to his physical condition. He was given medical treatment all along. At last, he passed away at 72 during the way to the hospital. Royal cremation ceremony was granted to him on January 3rd, 1990 at Makut Kasat Karam Temple. The 6 chosen songs composed by Mr. Mongol Amatyakul were written in AABA and ABCD structures, mainly in3/4 and 4/4 time with various syncopation patterns in each song. In addition, the songs employed sequential movement rather than leap movement with the scale range from Perfect11th toPerfect12th. Most songs were written in pentatonic scale and the lyrics were mostly rhymed at down beat notes more than upbeat notes 2019-02-18T05:01:56Z 2019-02-18T05:01:56Z 2562-02-18 2561 Article วารสารกระแสวัฒนธรรม. ปีที่ 18, ฉบับที่ 34, 66-80 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/40548 tha มหาวิทยาลัยมหิดล ภาควิชาการโรงแรมและการท่องเที่ยว คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม application/pdf