ปัจจัยที่ส่งเสริมการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษาหลักสูตร รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานโยบายสาธารณะและ การจัดการภาครัฐ (ภาคปกติและภาคพิเศษ) ภาควิชาสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

การวิจัยเรื่องปัจจัยที่ส่งเสริมการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษา หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานโยบายสาธารณะและการ จัดการภาครัฐ (ภาคปกติและภาคพิเศษ) ภาควิชาสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งเสริม การเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษาและ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: น้ำอ้อย คำชื่น, ภานุการณ์ สนใจ
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. ภาควิชาสังคมศาสตร์
Format: Article
Language:Thai
Published: 2019
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/43771
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.43771
record_format dspace
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic ปัจจัย
การเข้าร่วมกิจกรรม
หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต
วารสารสังคมศาสตร์บูรณาการ
Integrated Social Science Journal
spellingShingle ปัจจัย
การเข้าร่วมกิจกรรม
หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต
วารสารสังคมศาสตร์บูรณาการ
Integrated Social Science Journal
น้ำอ้อย คำชื่น
ภานุการณ์ สนใจ
ปัจจัยที่ส่งเสริมการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษาหลักสูตร รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานโยบายสาธารณะและ การจัดการภาครัฐ (ภาคปกติและภาคพิเศษ) ภาควิชาสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
description การวิจัยเรื่องปัจจัยที่ส่งเสริมการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษา หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานโยบายสาธารณะและการ จัดการภาครัฐ (ภาคปกติและภาคพิเศษ) ภาควิชาสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งเสริม การเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษาและเพื่อทราบระดับการเข้าร่วมกิจกรรมของ นักศึกษาหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานโยบายสาธารณะ และการจัดการภาครัฐ (ภาคปกติและภาคพิเศษ) ระเบียบวิธีวิจัยเป็นการศึกษาวิจัยเชิงสำรวจ โดยใช้แบบสอบถาม (Questionnaire) รวบรวมข้อมูลในเชิงปริมาณจากกลุ่มตัวอย่างซึ่งเป็นนักศึกษา หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานโยบายสาธารณะและการจัดการภาครัฐ (ภาคปกติและภาคพิเศษ) ภาควิชาสังคมศาสตร์ จำนวนกลุ่ม ตัวอย่าง 45 คน ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยที่ส่งเสริมการเข้าร่วมกิจกรรมของ นักศึกษามากที่สุดคือ ปัจจัยการมีส่วนร่วมในผลประโยชน์ (Mean = 1.50) โดย มีการได้รับผลดีหรือผลประโยชน์จากการเข้าร่วมได้รับคะแนนเฉลี่ยมากที่สุด ส่วนปัจจัยที่ส่งเสริมการเข้าร่วมกิจกรรมของกลุ่มตัวอย่างน้อยที่สุดคือ ปัจจัย การมีส่วนร่วมในการวางแผน (Mean = 0.75) โดยมีการทักท้วงเมื่อไม่ได้มี บทบาทในการตัดสินใจในกิจกรรมได้รับคะแนนเฉลี่ยน้อยที่สุด ส่วนปัญหา และอุปสรรคที่ส่งผลต่อการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษาภาคพิเศษคือ เวลา เนื่องจากนักศึกษาภาคพิเศษส่วนใหญ่มีงานประจำที่ทำอยู่แล้ว ทำให้ไม่มีเวลา ในการมาเข้าร่วมกิจกรรมที่จัดได้ ในขณะที่นักศึกษาภาคปกติ มีปัญหาและ อุปสรรคคือการไม่ค่อยได้รับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับกิจกรรมที่จัด สำหรับข้อเสนอแนะจากการวิจัยคือ หลักสูตรควรจัดกิจกรรมที่ให้ รุ่นพี่และรุ่นน้องมีส่วนร่วมกันและควรแจ้งรายละเอียดกิจกรรมที่ชัดเจน ล่วงหน้า 5-7 วัน และหากมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลในการจัดกิจกรรม ขอให้ แจ้งนักศึกษาให้ทราบด้วย นอกจากนี้ ทางหลักสูตรฯควรจัดรูปแบบกิจกรรม ให้มีความน่าสนใจมากขึ้น
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. ภาควิชาสังคมศาสตร์
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. ภาควิชาสังคมศาสตร์
น้ำอ้อย คำชื่น
ภานุการณ์ สนใจ
format Article
author น้ำอ้อย คำชื่น
ภานุการณ์ สนใจ
author_sort น้ำอ้อย คำชื่น
title ปัจจัยที่ส่งเสริมการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษาหลักสูตร รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานโยบายสาธารณะและ การจัดการภาครัฐ (ภาคปกติและภาคพิเศษ) ภาควิชาสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
title_short ปัจจัยที่ส่งเสริมการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษาหลักสูตร รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานโยบายสาธารณะและ การจัดการภาครัฐ (ภาคปกติและภาคพิเศษ) ภาควิชาสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
title_full ปัจจัยที่ส่งเสริมการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษาหลักสูตร รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานโยบายสาธารณะและ การจัดการภาครัฐ (ภาคปกติและภาคพิเศษ) ภาควิชาสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
title_fullStr ปัจจัยที่ส่งเสริมการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษาหลักสูตร รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานโยบายสาธารณะและ การจัดการภาครัฐ (ภาคปกติและภาคพิเศษ) ภาควิชาสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
title_full_unstemmed ปัจจัยที่ส่งเสริมการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษาหลักสูตร รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานโยบายสาธารณะและ การจัดการภาครัฐ (ภาคปกติและภาคพิเศษ) ภาควิชาสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
title_sort ปัจจัยที่ส่งเสริมการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษาหลักสูตร รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานโยบายสาธารณะและ การจัดการภาครัฐ (ภาคปกติและภาคพิเศษ) ภาควิชาสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
publishDate 2019
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/43771
_version_ 1763493617522966528
spelling th-mahidol.437712023-03-31T00:36:56Z ปัจจัยที่ส่งเสริมการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษาหลักสูตร รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานโยบายสาธารณะและ การจัดการภาครัฐ (ภาคปกติและภาคพิเศษ) ภาควิชาสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล Factors that Influent Activity Participation of Graduate Students of Public Administration (Public Policy and Public Management) in Regular and Special Program, Department of Social Sciences, Faculty of Social Sciences and Humanities, Mahidol University น้ำอ้อย คำชื่น ภานุการณ์ สนใจ มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. ภาควิชาสังคมศาสตร์ ปัจจัย การเข้าร่วมกิจกรรม หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต วารสารสังคมศาสตร์บูรณาการ Integrated Social Science Journal การวิจัยเรื่องปัจจัยที่ส่งเสริมการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษา หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานโยบายสาธารณะและการ จัดการภาครัฐ (ภาคปกติและภาคพิเศษ) ภาควิชาสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งเสริม การเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษาและเพื่อทราบระดับการเข้าร่วมกิจกรรมของ นักศึกษาหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานโยบายสาธารณะ และการจัดการภาครัฐ (ภาคปกติและภาคพิเศษ) ระเบียบวิธีวิจัยเป็นการศึกษาวิจัยเชิงสำรวจ โดยใช้แบบสอบถาม (Questionnaire) รวบรวมข้อมูลในเชิงปริมาณจากกลุ่มตัวอย่างซึ่งเป็นนักศึกษา หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานโยบายสาธารณะและการจัดการภาครัฐ (ภาคปกติและภาคพิเศษ) ภาควิชาสังคมศาสตร์ จำนวนกลุ่ม ตัวอย่าง 45 คน ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยที่ส่งเสริมการเข้าร่วมกิจกรรมของ นักศึกษามากที่สุดคือ ปัจจัยการมีส่วนร่วมในผลประโยชน์ (Mean = 1.50) โดย มีการได้รับผลดีหรือผลประโยชน์จากการเข้าร่วมได้รับคะแนนเฉลี่ยมากที่สุด ส่วนปัจจัยที่ส่งเสริมการเข้าร่วมกิจกรรมของกลุ่มตัวอย่างน้อยที่สุดคือ ปัจจัย การมีส่วนร่วมในการวางแผน (Mean = 0.75) โดยมีการทักท้วงเมื่อไม่ได้มี บทบาทในการตัดสินใจในกิจกรรมได้รับคะแนนเฉลี่ยน้อยที่สุด ส่วนปัญหา และอุปสรรคที่ส่งผลต่อการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษาภาคพิเศษคือ เวลา เนื่องจากนักศึกษาภาคพิเศษส่วนใหญ่มีงานประจำที่ทำอยู่แล้ว ทำให้ไม่มีเวลา ในการมาเข้าร่วมกิจกรรมที่จัดได้ ในขณะที่นักศึกษาภาคปกติ มีปัญหาและ อุปสรรคคือการไม่ค่อยได้รับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับกิจกรรมที่จัด สำหรับข้อเสนอแนะจากการวิจัยคือ หลักสูตรควรจัดกิจกรรมที่ให้ รุ่นพี่และรุ่นน้องมีส่วนร่วมกันและควรแจ้งรายละเอียดกิจกรรมที่ชัดเจน ล่วงหน้า 5-7 วัน และหากมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลในการจัดกิจกรรม ขอให้ แจ้งนักศึกษาให้ทราบด้วย นอกจากนี้ ทางหลักสูตรฯควรจัดรูปแบบกิจกรรม ให้มีความน่าสนใจมากขึ้น This research studies factors that influence activity participation of graduate students of Public Administration (Public Policy and Public Management) in regular and special program, Department of Social Sciences, Faculty of Social Sciences and Humanities, Mahidol University. The objectives of research are to investigate factors that encourage graduate students to involve in the activities and to find out about the level of activity involvement of students. The survey method was applied and questionnaire was used for data collection. The samples included 45 graduate students of Public Administration (Public Policy and Public Management) in regular and special program. The result found that the most influence factor was benefits sharing (Mean = 1.50). The average maximum score included benefits of involvement The least influence factor was participation in planning (Mean = 0.75). The average minimum score was students’ objection when did not have rights to make decision The obstacles that students in special program could not involve in activities because they had a permanent job and could not allocate time to join the activities. In contrast, the obstacle of students in regular program was that they did not receive any information of activities. The suggestions from this research included setting up activities between the senior and junior students. In additions, activities must be informed in details at least one week in advance. Any changes in activities must be also informed. The last recommendation was that the program should create more interesting activities to attract more students. 2019-04-18T07:19:54Z 2019-04-18T07:19:54Z 2562-04-18 2557 Article วารสารสังคมศาสตร์บูรณาการ. ปีที่ 1, ฉบับที่ 2 (ก.ค.-ธ.ค. 2557), 132-149 2350-983x https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/43771 tha มหาวิทยาลัยมหิดล ภาควิชาสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf