ความต้องการและความคาดหวังของนักศึกษาที่มีต่อบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความต้องการและความคาดหวัง ของนักศึกษาไทยและต่างชาติที่มีต่อบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล และ 2) เปรียบเทียบความต้องการและความคาดหวังระหว่างนักศึกษาไทยและ นักศึกษาต่างชาติที่มีต่อบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: วีรชาติ พนาวิวัฒน์, ลลิตา อดุลย์กิตติไพศาล, เจษฎาภรณ์ วิริยะสกุลธรณ์, สุภาพร จตุรภัทร
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. บัณฑิตวิทยาลัย
Format: Article
Language:Thai
Published: 2019
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/43796
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.43796
record_format dspace
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic ความต้องการและความคาดหวัง
นักศึกษา
มหาวิทยาลัยมหิดล
ระดับบัณฑิตศึกษา
Integrated Social Science Journal
วารสารสังคมศาสตร์บูรณาการ
spellingShingle ความต้องการและความคาดหวัง
นักศึกษา
มหาวิทยาลัยมหิดล
ระดับบัณฑิตศึกษา
Integrated Social Science Journal
วารสารสังคมศาสตร์บูรณาการ
วีรชาติ พนาวิวัฒน์
ลลิตา อดุลย์กิตติไพศาล
เจษฎาภรณ์ วิริยะสกุลธรณ์
สุภาพร จตุรภัทร
ความต้องการและความคาดหวังของนักศึกษาที่มีต่อบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล
description งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความต้องการและความคาดหวัง ของนักศึกษาไทยและต่างชาติที่มีต่อบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล และ 2) เปรียบเทียบความต้องการและความคาดหวังระหว่างนักศึกษาไทยและ นักศึกษาต่างชาติที่มีต่อบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่เข้าศึกษาในปีการศึกษา 2559 จำนวน 1,309 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม ประมาณค่า 5 ระดับ ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น โดย วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณด้วยสถิติภาคบรรยาย ได้แก่ ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และความถี่ (Frequency) ผลการวิจัย พบว่า 1) ความต้องการและความคาดหวังของนักศึกษา ไทยและต่างชาติที่มีต่อบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล ในภาพรวม อยู่ใน ระดับมากที่สุด เมื่อจำแนกรายด้าน พบว่า ด้านการเรียนการสอน อยู่ในระดับ มากที่สุดทุกข้อ ด้านปัจจัยเกื้อหนุนการศึกษา อยู่ในระดับมาก เมื่อจำแนกราย ข้อพบว่า นักศึกษาไทย มีความต้องการและความคาดหวังในระดับมากที่สุด ได้แก่ มีสวัสดิการรักษาพยาบาล มีทุนสนับสนุนการศึกษา และมีประเภททุน ตรงตามความต้องการของนักศึกษา ส่วนนักศึกษาต่างชาติมีความต้องการและ ความคาดหวัง มากที่สุด เรื่อง ระบบการดูแลการต่ออายุวีซ่าในระหว่างที่ศึกษา ด้านการให้บริการ และ ด้านการพัฒนานักศึกษา พบว่า นักศึกษาไทยมีความ ต้องการและความคาดหวัง ในระดับมากที่สุด แตกต่างจากนักศึกษาต่างชาติ ที่มีความต้องการและความคาดหวังในระดับมาก 2) เปรียบเทียบความต้องการ และความคาดหวังระหว่างนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติที่มีต่อบัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล พบว่า ด้านการเรียนการสอน นักศึกษาที่มีสัญชาติ แตกต่างกัน มีความต้องการและความคาดหวังด้านการเรียนการสอนไม่ แตกต่างกัน ด้านปัจจัยเกื้อหนุนการศึกษา นักศึกษาที่มีสัญชาติแตกต่างกัน มีความต้องการและความคาดหวังด้านปัจจัยเกื้อหนุนการศึกษาไม่แตกต่างกัน ด้านการให้บริการ นักศึกษาที่มีสัญชาติแตกต่างกันมีความต้องการและ ความคาดหวังด้านการให้บริการไม่แตกต่างกัน และด้านการพัฒนานักศึกษา นักศึกษาที่มีสัญชาติแตกต่างกันมีความต้องการและความคาดหวังด้านการ พัฒนานักศึกษา แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ .05
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. บัณฑิตวิทยาลัย
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. บัณฑิตวิทยาลัย
วีรชาติ พนาวิวัฒน์
ลลิตา อดุลย์กิตติไพศาล
เจษฎาภรณ์ วิริยะสกุลธรณ์
สุภาพร จตุรภัทร
format Article
author วีรชาติ พนาวิวัฒน์
ลลิตา อดุลย์กิตติไพศาล
เจษฎาภรณ์ วิริยะสกุลธรณ์
สุภาพร จตุรภัทร
author_sort วีรชาติ พนาวิวัฒน์
title ความต้องการและความคาดหวังของนักศึกษาที่มีต่อบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล
title_short ความต้องการและความคาดหวังของนักศึกษาที่มีต่อบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล
title_full ความต้องการและความคาดหวังของนักศึกษาที่มีต่อบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล
title_fullStr ความต้องการและความคาดหวังของนักศึกษาที่มีต่อบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล
title_full_unstemmed ความต้องการและความคาดหวังของนักศึกษาที่มีต่อบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล
title_sort ความต้องการและความคาดหวังของนักศึกษาที่มีต่อบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล
publishDate 2019
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/43796
_version_ 1763489578156556288
spelling th-mahidol.437962023-03-31T03:15:28Z ความต้องการและความคาดหวังของนักศึกษาที่มีต่อบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล Needs and expectations of students for the Graduate school, Mahidol University วีรชาติ พนาวิวัฒน์ ลลิตา อดุลย์กิตติไพศาล เจษฎาภรณ์ วิริยะสกุลธรณ์ สุภาพร จตุรภัทร มหาวิทยาลัยมหิดล. บัณฑิตวิทยาลัย ความต้องการและความคาดหวัง นักศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล ระดับบัณฑิตศึกษา Integrated Social Science Journal วารสารสังคมศาสตร์บูรณาการ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความต้องการและความคาดหวัง ของนักศึกษาไทยและต่างชาติที่มีต่อบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล และ 2) เปรียบเทียบความต้องการและความคาดหวังระหว่างนักศึกษาไทยและ นักศึกษาต่างชาติที่มีต่อบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่เข้าศึกษาในปีการศึกษา 2559 จำนวน 1,309 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม ประมาณค่า 5 ระดับ ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น โดย วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณด้วยสถิติภาคบรรยาย ได้แก่ ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และความถี่ (Frequency) ผลการวิจัย พบว่า 1) ความต้องการและความคาดหวังของนักศึกษา ไทยและต่างชาติที่มีต่อบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล ในภาพรวม อยู่ใน ระดับมากที่สุด เมื่อจำแนกรายด้าน พบว่า ด้านการเรียนการสอน อยู่ในระดับ มากที่สุดทุกข้อ ด้านปัจจัยเกื้อหนุนการศึกษา อยู่ในระดับมาก เมื่อจำแนกราย ข้อพบว่า นักศึกษาไทย มีความต้องการและความคาดหวังในระดับมากที่สุด ได้แก่ มีสวัสดิการรักษาพยาบาล มีทุนสนับสนุนการศึกษา และมีประเภททุน ตรงตามความต้องการของนักศึกษา ส่วนนักศึกษาต่างชาติมีความต้องการและ ความคาดหวัง มากที่สุด เรื่อง ระบบการดูแลการต่ออายุวีซ่าในระหว่างที่ศึกษา ด้านการให้บริการ และ ด้านการพัฒนานักศึกษา พบว่า นักศึกษาไทยมีความ ต้องการและความคาดหวัง ในระดับมากที่สุด แตกต่างจากนักศึกษาต่างชาติ ที่มีความต้องการและความคาดหวังในระดับมาก 2) เปรียบเทียบความต้องการ และความคาดหวังระหว่างนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติที่มีต่อบัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล พบว่า ด้านการเรียนการสอน นักศึกษาที่มีสัญชาติ แตกต่างกัน มีความต้องการและความคาดหวังด้านการเรียนการสอนไม่ แตกต่างกัน ด้านปัจจัยเกื้อหนุนการศึกษา นักศึกษาที่มีสัญชาติแตกต่างกัน มีความต้องการและความคาดหวังด้านปัจจัยเกื้อหนุนการศึกษาไม่แตกต่างกัน ด้านการให้บริการ นักศึกษาที่มีสัญชาติแตกต่างกันมีความต้องการและ ความคาดหวังด้านการให้บริการไม่แตกต่างกัน และด้านการพัฒนานักศึกษา นักศึกษาที่มีสัญชาติแตกต่างกันมีความต้องการและความคาดหวังด้านการ พัฒนานักศึกษา แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ .05 The objectives of the research are 1) to study needs and expectations of Thai and foreign students under the Faculty of Graduate Studies, Mahidol University and 2) to compare needs and expectations toward the Faculty of Graduate Studies, Mahidol University between Thai students and foreign students. The sample was 1,309 postgraduate students who enrolled for academic year 2015. The research tool was a five-rating scales questionnaire. The data analysis was conducted through descriptive statistics : Percentage, Mean, Standard Deviation, and Frequency. The findings indicated that 1) both Thai and foreign students’ overall need and expectation under the Faculty of Graduate Studies, particularly for teaching/ studying factor were at high level. For studying assistance factor, Thai students show a highest level of need and expectation in the following items respectively : health insurance, and scholarship to fulfill students’ needs while the highest need of foreign students was visa renewals. In term of service factor and student improvement factor, Thai students needed and expected at highest level while foreign students’ need and expectation were at high level 2) The comparison of needs and expectations between Thai students and foreign students revealed that there was no statistically significant difference in term of following three factors : teaching/studying, studying assistance, and services. In contrast, there was statistically significant difference (.05) particularly for student improvement factor. 2019-04-30T03:47:52Z 2019-04-30T03:47:52Z 2562-04-30 2560 Article วารสารสังคมศาสตร์บูรณาการ. ปีที่ 4, ฉบับที่ 2 (ก.ค.-ธ.ค. 2560), 51-82 2350-983x https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/43796 tha มหาวิทยาลัยมหิดล บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf