ความท้าทายในการดำเนินงานตามอนุสัญญาว่าด้วยการต่อต้านการแปรสภาพเป็นทะเลทราย
การแปรสภาพเป็นทะเลทรายถือเป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมระดับโลกที่ กลุ่มประเทศทั้งพัฒนาแล้วและกำลังพัฒนากำลังเผชิญอยู่ อนุสัญญาว่าด้วยการ ต่อต้านการแปรสภาพเป็นทะเลทรายถือเป็นมาตรการทางกฎหมายระหว่าง ประเทศที่เกิดขึ้นเพื่อจัดการปัญหาการแปรสภาพเป็นทะเลทรายโดยตรง อนุสัญญาฉบับนี้เป็นเพียงข้อตกลงที่วางกรอบแห่งพ...
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Article |
Language: | Thai |
Published: |
2019
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/43949 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | Thai |
id |
th-mahidol.43949 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-mahidol.439492023-03-30T17:29:33Z ความท้าทายในการดำเนินงานตามอนุสัญญาว่าด้วยการต่อต้านการแปรสภาพเป็นทะเลทราย Challenges in the Implementation of United Nations Convention to Combat Desertification วนิพพล มหาอาชา มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. ภาควิชาสังคมศาสตร์ วารสารสังคมศาสตร์บูรณาการ Integrated Social Science Journal การแปรสภาพเป็นทะเลทราย อนุสัญญา การดำเนินงาน การแปรสภาพเป็นทะเลทรายถือเป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมระดับโลกที่ กลุ่มประเทศทั้งพัฒนาแล้วและกำลังพัฒนากำลังเผชิญอยู่ อนุสัญญาว่าด้วยการ ต่อต้านการแปรสภาพเป็นทะเลทรายถือเป็นมาตรการทางกฎหมายระหว่าง ประเทศที่เกิดขึ้นเพื่อจัดการปัญหาการแปรสภาพเป็นทะเลทรายโดยตรง อนุสัญญาฉบับนี้เป็นเพียงข้อตกลงที่วางกรอบแห่งพันธกรณีให้ประเทศภาคี ดำเนินการอย่างกว้าง ๆ (broad framework) เพื่อแก้ไขปัญหาความเสื่อมโทรม ของที่ดินและการแปรสภาพเป็นทะเลทราย การดำเนินงานตามอนุสัญญา ประสบความสำเร็จในด้านการสร้างความตระหนักในผลกระทบของการแปร สภาพเป็นทะเลทราย แต่ปัญหาที่เกิดขึ้นในการดำเนินงานตามอนุสัญญา คือ ปัญหาเงินสนับสนุนที่ไม่เพียงพอ ปัญหาการขาดการสื่อสารและการประสาน งานที่ดี ปัญหาการสร้างความร่วมมือจากองค์กรและการทำงานร่วมกับกฎหมาย สิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้อง และปัญหาการขาดการพิจารณามิติทาง เศรษฐกิจและสังคม การบูรณาการของทุกภาคส่วนและทุกศาสตร์เป็นสิ่งที่ จำเป็นให้เกิดการแก้ไขปัญหาการแปรสภาพเป็นทะเลทรายอย่างยั่งยืนต่อไป Desertification is one of the international environmental problems that affected both developed and developing countries. The UN Convention to Combat Desertification (UNCCD) is a legal measure aimed at handling the desertification directly. This convention provides a broad framework to cope with land degradation and desertification. Although this convention accomplishes an important mission in raising awareness concerning the problems associated with desertification, there are several problems in terms of implementation which include an insufficient financial support, a lack of communication and coordination among public institutes, a lack of collaboration with other relevant institutions and international environmental laws, and a lack of socio-economic concerns. Thus, the coordination among all stakeholders and a multidisciplinary approach are important for implementing and combating desertification sustainably. 2019-05-15T07:20:13Z 2019-05-15T07:20:13Z 2562-05-15 2558 Article วารสารสังคมศาสตร์บูรณาการ. ปีที่ 2, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2558), 210-229 2350-983x https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/43949 tha มหาวิทยาลัยมหิดล ภาควิชาสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf |
institution |
Mahidol University |
building |
Mahidol University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Mahidol University Library |
collection |
Mahidol University Institutional Repository |
language |
Thai |
topic |
วารสารสังคมศาสตร์บูรณาการ Integrated Social Science Journal การแปรสภาพเป็นทะเลทราย อนุสัญญา การดำเนินงาน |
spellingShingle |
วารสารสังคมศาสตร์บูรณาการ Integrated Social Science Journal การแปรสภาพเป็นทะเลทราย อนุสัญญา การดำเนินงาน วนิพพล มหาอาชา ความท้าทายในการดำเนินงานตามอนุสัญญาว่าด้วยการต่อต้านการแปรสภาพเป็นทะเลทราย |
description |
การแปรสภาพเป็นทะเลทรายถือเป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมระดับโลกที่
กลุ่มประเทศทั้งพัฒนาแล้วและกำลังพัฒนากำลังเผชิญอยู่ อนุสัญญาว่าด้วยการ
ต่อต้านการแปรสภาพเป็นทะเลทรายถือเป็นมาตรการทางกฎหมายระหว่าง
ประเทศที่เกิดขึ้นเพื่อจัดการปัญหาการแปรสภาพเป็นทะเลทรายโดยตรง
อนุสัญญาฉบับนี้เป็นเพียงข้อตกลงที่วางกรอบแห่งพันธกรณีให้ประเทศภาคี
ดำเนินการอย่างกว้าง ๆ (broad framework) เพื่อแก้ไขปัญหาความเสื่อมโทรม
ของที่ดินและการแปรสภาพเป็นทะเลทราย การดำเนินงานตามอนุสัญญา
ประสบความสำเร็จในด้านการสร้างความตระหนักในผลกระทบของการแปร
สภาพเป็นทะเลทราย แต่ปัญหาที่เกิดขึ้นในการดำเนินงานตามอนุสัญญา คือ
ปัญหาเงินสนับสนุนที่ไม่เพียงพอ ปัญหาการขาดการสื่อสารและการประสาน
งานที่ดี ปัญหาการสร้างความร่วมมือจากองค์กรและการทำงานร่วมกับกฎหมาย
สิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้อง และปัญหาการขาดการพิจารณามิติทาง
เศรษฐกิจและสังคม การบูรณาการของทุกภาคส่วนและทุกศาสตร์เป็นสิ่งที่
จำเป็นให้เกิดการแก้ไขปัญหาการแปรสภาพเป็นทะเลทรายอย่างยั่งยืนต่อไป |
author2 |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. ภาควิชาสังคมศาสตร์ |
author_facet |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. ภาควิชาสังคมศาสตร์ วนิพพล มหาอาชา |
format |
Article |
author |
วนิพพล มหาอาชา |
author_sort |
วนิพพล มหาอาชา |
title |
ความท้าทายในการดำเนินงานตามอนุสัญญาว่าด้วยการต่อต้านการแปรสภาพเป็นทะเลทราย |
title_short |
ความท้าทายในการดำเนินงานตามอนุสัญญาว่าด้วยการต่อต้านการแปรสภาพเป็นทะเลทราย |
title_full |
ความท้าทายในการดำเนินงานตามอนุสัญญาว่าด้วยการต่อต้านการแปรสภาพเป็นทะเลทราย |
title_fullStr |
ความท้าทายในการดำเนินงานตามอนุสัญญาว่าด้วยการต่อต้านการแปรสภาพเป็นทะเลทราย |
title_full_unstemmed |
ความท้าทายในการดำเนินงานตามอนุสัญญาว่าด้วยการต่อต้านการแปรสภาพเป็นทะเลทราย |
title_sort |
ความท้าทายในการดำเนินงานตามอนุสัญญาว่าด้วยการต่อต้านการแปรสภาพเป็นทะเลทราย |
publishDate |
2019 |
url |
https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/43949 |
_version_ |
1763494603851300864 |