การศึกษาเปรียบเทียบอุณหภูมิของแผ่นประคบร้อนที่สัมพันธ์กับความหนา ของผ้าห่อแผ่นประคบ ในช่วงเวลา 20 นาที

วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาเปรียบเทียบอุณหภูมิแต่ละช่วงเวลา ต่อความหนาของผ้าห่อแผ่นประคบร้อนที่ความหนา 4 เซนติเมตร และ 2 เซนติเมตร วิธีการวิจัย ทำการทดลองในห้องที่มีอุณหภูมิอยู่ในช่วง 22-25 องศาเซลเซียส นำแผ่นประคบร้อนที่แช่ใน Hydrocollator ที่มีอุณหภูมิไม่เกิน 80 องศาเซลเซียส มากกว่า 1 ชั่วโมง ถูกเตร...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ชมพูนุช ศรีไกรยุทธ, กภ.วรรณเฉลิม ชาววัง, Chompunuch Srikraiyut, Wanchalorm Chawwang
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะเวชศาสตร์เขตร้อน. หน่วยกายภาพบำบัดและเวชศาสตร์ฟื้นฟู โรงพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อน
Format: Article
Language:Thai
Published: 2019
Subjects:
Online Access:http://doi.org/10.14456/jmu.2018.5
https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/44175
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.44175
record_format dspace
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic แผ่นประคบร้อน
เครื่องมือกายภาพบำบัด
หม้อต้มแผ่นประคบร้อนแผลพุพอง
Hydrocollator pack
Physiotherapy Equipment
Hydrocollator
Burn
spellingShingle แผ่นประคบร้อน
เครื่องมือกายภาพบำบัด
หม้อต้มแผ่นประคบร้อนแผลพุพอง
Hydrocollator pack
Physiotherapy Equipment
Hydrocollator
Burn
ชมพูนุช ศรีไกรยุทธ
กภ.วรรณเฉลิม ชาววัง
Chompunuch Srikraiyut
Wanchalorm Chawwang
การศึกษาเปรียบเทียบอุณหภูมิของแผ่นประคบร้อนที่สัมพันธ์กับความหนา ของผ้าห่อแผ่นประคบ ในช่วงเวลา 20 นาที
description วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาเปรียบเทียบอุณหภูมิแต่ละช่วงเวลา ต่อความหนาของผ้าห่อแผ่นประคบร้อนที่ความหนา 4 เซนติเมตร และ 2 เซนติเมตร วิธีการวิจัย ทำการทดลองในห้องที่มีอุณหภูมิอยู่ในช่วง 22-25 องศาเซลเซียส นำแผ่นประคบร้อนที่แช่ใน Hydrocollator ที่มีอุณหภูมิไม่เกิน 80 องศาเซลเซียส มากกว่า 1 ชั่วโมง ถูกเตรียมโดยการห่อด้วยผ้าขนหนูที่ทำด้วยผ้าฝ้าย 100% ขนาด 27 x 54 นิ้ว ที่ถูกพับครึ่งแล้ววางซ้อนทับกันให้ได้ความหนา 4 เซนติเมตร และ 2 เซนติเมตร ในด้านที่จะใช้วางบนเครื่องวัดอุณหภูมิ จากนั้นนำมาวางบนหมอนที่มี digital thermometer บริเวณกึ่งกลางของหมอน 1 โดยวางด้านที่ทีความหนาของแผ่นประคบร้อน เริ่มใช้นาฬิกาจับเวลา และทำการวัดอุณหภูมิตั้งแต่นาทีที่ 1 ถึงนาทีที่ 20 บันทึกอุณหภูมิทุกนาที จนครบ 20 นาที ด้วยความหนาของผ้าชุดละ 25 ครั้ง นำข้อมูลมาวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมมสถิติ SPSS version PASW statistics 18 ใช้ student T-test ในการเปรียบเทียบอุณหภูมิของความหนาของผ้าที่ให้ห่อแผ่นประคบร้อนที่ 2 และ 4 เซนติเมตร ผลการศึกษา: ในการใช้แผ่นประคบร้อนที่ความหนาของผ้าห่อ 4 เซนติเมตร ต้มในหม้อต้มที่อุณหภูมิเฉลี่ยที่ 76.71 ± 0.90 องศาเซลเซียส ตั้งแต่นาทีที่ 1 ถึงนาทีที่ 20 อุณหภูมิเฉลี่ยอยู่ในช่วง 22.86 ± 0.63 องศาเซลเซียส ถึง 39.64 ± 2.47 องศาเซลเซียส อุณหภูมิเฉลี่ยที่ 31.24 ± 5.80 องศาเซลเซียส แผ่นประคบร้อนที่ความหนาของผ้าห่อ 2 เซนติเมตร ต้มในหม้อต้มที่อุณหภูมิเฉลี่ยที่ 77.30 ± .44 องศาเซลเซียส ตั้งแต่นาทีที่ 1 ถึงนาทีที่ 20 อุณหภูมิเฉลี่ยอยู่ในช่วง 23.92 ± 1.18 องศาเซลเซียส ถึง 48.69 ± 1.64 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องอย่างเห็นได้ชัดเจนในช่วงนาทีที่ 3 ถึงนาทีที่ 15 ตามเวลาที่เปลี่ยนไปทื่ 30.25 ± 3.02 องศาเซลเซียส ถึง 47.80 ± 2.27 องศาเซลเซียส เมื่อเปรียบเทียบความหนาของผ้า พบว่าอุณหภูมิของผ้าที่ใช้ห่อแผ่นประคบร้อนมีความแตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ (p-value, 0.01) สรุปผลการศึกษาพบว่า ความหนาของผ้าที่ใช้ห่อแผ่นประคบร้อน ขนาด 2 เซนติเมตร และ 4 เซนติเมตร มีความแตกต่างต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของแผ่นประคบร้อนอย่างมีนัยสำคัญ
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะเวชศาสตร์เขตร้อน. หน่วยกายภาพบำบัดและเวชศาสตร์ฟื้นฟู โรงพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อน
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะเวชศาสตร์เขตร้อน. หน่วยกายภาพบำบัดและเวชศาสตร์ฟื้นฟู โรงพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อน
ชมพูนุช ศรีไกรยุทธ
กภ.วรรณเฉลิม ชาววัง
Chompunuch Srikraiyut
Wanchalorm Chawwang
format Article
author ชมพูนุช ศรีไกรยุทธ
กภ.วรรณเฉลิม ชาววัง
Chompunuch Srikraiyut
Wanchalorm Chawwang
author_sort ชมพูนุช ศรีไกรยุทธ
title การศึกษาเปรียบเทียบอุณหภูมิของแผ่นประคบร้อนที่สัมพันธ์กับความหนา ของผ้าห่อแผ่นประคบ ในช่วงเวลา 20 นาที
title_short การศึกษาเปรียบเทียบอุณหภูมิของแผ่นประคบร้อนที่สัมพันธ์กับความหนา ของผ้าห่อแผ่นประคบ ในช่วงเวลา 20 นาที
title_full การศึกษาเปรียบเทียบอุณหภูมิของแผ่นประคบร้อนที่สัมพันธ์กับความหนา ของผ้าห่อแผ่นประคบ ในช่วงเวลา 20 นาที
title_fullStr การศึกษาเปรียบเทียบอุณหภูมิของแผ่นประคบร้อนที่สัมพันธ์กับความหนา ของผ้าห่อแผ่นประคบ ในช่วงเวลา 20 นาที
title_full_unstemmed การศึกษาเปรียบเทียบอุณหภูมิของแผ่นประคบร้อนที่สัมพันธ์กับความหนา ของผ้าห่อแผ่นประคบ ในช่วงเวลา 20 นาที
title_sort การศึกษาเปรียบเทียบอุณหภูมิของแผ่นประคบร้อนที่สัมพันธ์กับความหนา ของผ้าห่อแผ่นประคบ ในช่วงเวลา 20 นาที
publishDate 2019
url http://doi.org/10.14456/jmu.2018.5
https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/44175
_version_ 1763491894207184896
spelling th-mahidol.441752023-03-30T17:33:49Z การศึกษาเปรียบเทียบอุณหภูมิของแผ่นประคบร้อนที่สัมพันธ์กับความหนา ของผ้าห่อแผ่นประคบ ในช่วงเวลา 20 นาที Study of Temperature and thickness of wrapped cloth of hydrocullator pack during 20 minutes ชมพูนุช ศรีไกรยุทธ กภ.วรรณเฉลิม ชาววัง Chompunuch Srikraiyut Wanchalorm Chawwang มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะเวชศาสตร์เขตร้อน. หน่วยกายภาพบำบัดและเวชศาสตร์ฟื้นฟู โรงพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อน แผ่นประคบร้อน เครื่องมือกายภาพบำบัด หม้อต้มแผ่นประคบร้อนแผลพุพอง Hydrocollator pack Physiotherapy Equipment Hydrocollator Burn วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาเปรียบเทียบอุณหภูมิแต่ละช่วงเวลา ต่อความหนาของผ้าห่อแผ่นประคบร้อนที่ความหนา 4 เซนติเมตร และ 2 เซนติเมตร วิธีการวิจัย ทำการทดลองในห้องที่มีอุณหภูมิอยู่ในช่วง 22-25 องศาเซลเซียส นำแผ่นประคบร้อนที่แช่ใน Hydrocollator ที่มีอุณหภูมิไม่เกิน 80 องศาเซลเซียส มากกว่า 1 ชั่วโมง ถูกเตรียมโดยการห่อด้วยผ้าขนหนูที่ทำด้วยผ้าฝ้าย 100% ขนาด 27 x 54 นิ้ว ที่ถูกพับครึ่งแล้ววางซ้อนทับกันให้ได้ความหนา 4 เซนติเมตร และ 2 เซนติเมตร ในด้านที่จะใช้วางบนเครื่องวัดอุณหภูมิ จากนั้นนำมาวางบนหมอนที่มี digital thermometer บริเวณกึ่งกลางของหมอน 1 โดยวางด้านที่ทีความหนาของแผ่นประคบร้อน เริ่มใช้นาฬิกาจับเวลา และทำการวัดอุณหภูมิตั้งแต่นาทีที่ 1 ถึงนาทีที่ 20 บันทึกอุณหภูมิทุกนาที จนครบ 20 นาที ด้วยความหนาของผ้าชุดละ 25 ครั้ง นำข้อมูลมาวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมมสถิติ SPSS version PASW statistics 18 ใช้ student T-test ในการเปรียบเทียบอุณหภูมิของความหนาของผ้าที่ให้ห่อแผ่นประคบร้อนที่ 2 และ 4 เซนติเมตร ผลการศึกษา: ในการใช้แผ่นประคบร้อนที่ความหนาของผ้าห่อ 4 เซนติเมตร ต้มในหม้อต้มที่อุณหภูมิเฉลี่ยที่ 76.71 ± 0.90 องศาเซลเซียส ตั้งแต่นาทีที่ 1 ถึงนาทีที่ 20 อุณหภูมิเฉลี่ยอยู่ในช่วง 22.86 ± 0.63 องศาเซลเซียส ถึง 39.64 ± 2.47 องศาเซลเซียส อุณหภูมิเฉลี่ยที่ 31.24 ± 5.80 องศาเซลเซียส แผ่นประคบร้อนที่ความหนาของผ้าห่อ 2 เซนติเมตร ต้มในหม้อต้มที่อุณหภูมิเฉลี่ยที่ 77.30 ± .44 องศาเซลเซียส ตั้งแต่นาทีที่ 1 ถึงนาทีที่ 20 อุณหภูมิเฉลี่ยอยู่ในช่วง 23.92 ± 1.18 องศาเซลเซียส ถึง 48.69 ± 1.64 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องอย่างเห็นได้ชัดเจนในช่วงนาทีที่ 3 ถึงนาทีที่ 15 ตามเวลาที่เปลี่ยนไปทื่ 30.25 ± 3.02 องศาเซลเซียส ถึง 47.80 ± 2.27 องศาเซลเซียส เมื่อเปรียบเทียบความหนาของผ้า พบว่าอุณหภูมิของผ้าที่ใช้ห่อแผ่นประคบร้อนมีความแตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ (p-value, 0.01) สรุปผลการศึกษาพบว่า ความหนาของผ้าที่ใช้ห่อแผ่นประคบร้อน ขนาด 2 เซนติเมตร และ 4 เซนติเมตร มีความแตกต่างต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของแผ่นประคบร้อนอย่างมีนัยสำคัญ Objective: To compare the temperatures of a hydrocollator pack wrapped in a 4 cm. and a 2 cm. thickness of fabric over time. Method: This research was conducted in a room with a controlled temperature in the range 22 to 25 °C. Put the hydrocollator pack that was placed inside a hydrocollator heating units, a thermostatically controlled water bath, at temperatures up to 80 °C, for over one hour. The hydrocollator pack was prepared by wrapping a 100% cotton towel (27 X 54 inches in size) folded in half, enclosed with a 4 cm. and 2 cm. string to a digital thermometer then placed in the center of a pillow. Finally, the Hydrocollator pack was covered with sheets (thickness 4 cm. and 2 cm. The temperature was recorded every minute up until the 20th minute. The data were analyzed using the statistical program SPSS version PASW statistics 18 by student T - test pairs for comparing the temperatures of the hydrocollator pack wrapped in different fabric thicknesses. Results: The hydrocollator pack, wrapped in fabric with a thickness of 4 cm. was heated in the hydrocollator at an average temperature of 76.71 ± 0.90°C for 1 to 20 minutes, had average temperatures of 22.86 ± 0.63°C to 39.64 ± 2.47°C. The average temperature was 31.24 ± 5.80°C. While the Hydrocollator pack wrapped with a fabric thickness of 2 cm. heated in a hydrocollator with an average temperature of 77.30 ± 0.44°C for 1 to 20 minutes at a temperature in the range of 23.92 ± 1.18°C to 48.69 ± 1.64°C had an average temperature of 41.45 ± 7.88°C, and continuously increasing temperature . Significantly, during the 3rd to 15th minute at a temperature of 30.25 ± 3.02°C to 47.80± 2.27°C, it was found that the hydrocollator pack had different levels, with statistical significance (p-value<0.01). The results of the study show that the thickness of fabric (2 cm. and 4 cm.) used to wrap the hydrocollator pack affected the temperature change of the hydrocollator pack significantly. 2019-06-26T08:54:35Z 2019-06-26T08:54:35Z 2562-06-26 2561 Research Article วารสาร Mahidol R2R e-Journal. ปีที่ 5, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2561), 48-60 http://doi.org/10.14456/jmu.2018.5 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/44175 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf