ปัจจัยทํานายพฤติกรรมการจัดการตนเองของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุที่ควบคุมไม่ได้

วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาพฤติกรรมการจัดการตนเอง และอํานาจการทํานายของ อายุ เพศ ระดับการศึกษาความแตกฉานทางสุขภาพ การสนับสนุนทางสังคม และการสื่อสารระหว่างผู้ป่วยกับทีมสุขภาพต่อพฤติกรรมการจัดการตนเองของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุที่ควบคุมระดับความดันโลหิตไม่ได้ รูปแบบการวิจัย: การศึกษ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: พนิดา จันทร์ดีแก้วสกุล, Panida Jandeekaewsakul, นันทิยา วัฒายุ, Nantiya Watthayu, นันทวัน สุวรรณรูป, Nantawan Suwonnaroop
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์
Format: Article
Language:Thai
Published: 2019
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/44191
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.44191
record_format dspace
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic การสื่อสาร
ความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุ
ความแตกฉานทางสุขภาพ
การจัดการตนเอง
การสนับสนุนทางสังคม
communication
esseential hypertension
health literacy
self-management
social support
Journal of Nursing Science
วารสารพยาบาลศาสตร์
spellingShingle การสื่อสาร
ความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุ
ความแตกฉานทางสุขภาพ
การจัดการตนเอง
การสนับสนุนทางสังคม
communication
esseential hypertension
health literacy
self-management
social support
Journal of Nursing Science
วารสารพยาบาลศาสตร์
พนิดา จันทร์ดีแก้วสกุล
Panida Jandeekaewsakul
นันทิยา วัฒายุ
Nantiya Watthayu
นันทวัน สุวรรณรูป
Nantawan Suwonnaroop
ปัจจัยทํานายพฤติกรรมการจัดการตนเองของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุที่ควบคุมไม่ได้
description วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาพฤติกรรมการจัดการตนเอง และอํานาจการทํานายของ อายุ เพศ ระดับการศึกษาความแตกฉานทางสุขภาพ การสนับสนุนทางสังคม และการสื่อสารระหว่างผู้ป่วยกับทีมสุขภาพต่อพฤติกรรมการจัดการตนเองของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุที่ควบคุมระดับความดันโลหิตไม่ได้ รูปแบบการวิจัย: การศึกษาเชิงสหสัมพันธ์เพื่อหาอํานาจการทํานาย วิธีดําเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุที่ควบคุมระดับความดันโลหิตไม่ได้ นั่นคือ มีระดับความดันโลหิตมากกว่าหรือเท่ากับ 140/90 มิลลิเมตรปรอท ที่มารับบริการที่ศูนย์บริการสาธารณสุขจํานวน 3 แห่ง สังกัดสํานักอนามัย กรุงเทพมหานคร โดยคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบสะดวกตามเกณฑ์คัดเข้า จํานวน 84 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยแบบสอบถาม ได้แก่ ข้อมูลส่วนบุคคลและการรักษาแบบสอบถามการสนับสนุนทางสังคม แบบประเมินความแตกฉานทางสุขภาพเพื่อวัดความเข้าใจในการอ่านแบบสอบถามการสื่อสารระหว่างผู้ป่วยกับเจ้าหน้าที่ และแบบสอบถามพฤติกรรมการจัดการตนเอง ตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือได้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาครอนบาค เท่ากับ .88, .81, .84, และ .90 ตามลําดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยายและสถิติถดถอยพหุคูณด้วยวิธี stepwiseผลการวิจัย: พฤติกรรมการจัดการตนเองของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุโดยรวมอยู่ในระดับต่ำ (X = 2.00, SD = 1.09) การสนับสนุนทางสังคมเป็นตัวทํานายที่ดีที่สุด (ขั้นที่ 1) สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 15.10 และความแตกฉานทางสุขภาพเป็นตัวทํานายในลําดับต่อไปที่ดีที่สุด หลังจากที่การสนับสนุนทางสังคมรวมอยู่ในสมการถดถอย (ขั้นที่ 2) สามารถอธิบายความแปรปรวนได้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 8.1 (R2change = .081) ดังนั้นการสนับสนุนทางสังคม และความแตกฉานทางสุขภาพ สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ทั้งหมด ร้อยละ 23.20(R2 = .232, F = 12.259, p < .001) การสนับสนุนทางสังคมเป็นปัจจัยที่ทํานายพฤติกรรมการจัดการตนเองของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้มากที่สุด (β = .368, p < .001) รองลงมา คือ ความแตกฉานทางสุขภาพ (β = .285, p = .005)สรุปและข้อเสนอแนะ:การศึกษานี้สามารถใช้เป็นแนวทางสําหรับบุคลากรทางการแพทย์ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง พยาบาลในการพัฒนาโปรแกรมเกี่ยวกับพฤติกรรมการจัดการตนเองของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่มุ่งเน้นการสนับสนุนทางสังคม และการส่งเสริมความแตกฉานทางสุขภาพที่เพียงพอให้มากขึ้น เพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยมีพฤติกรรมการจัดการตนเองที่มีประสิทธิภาพที่ยั่งยืนต่อไป
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์
พนิดา จันทร์ดีแก้วสกุล
Panida Jandeekaewsakul
นันทิยา วัฒายุ
Nantiya Watthayu
นันทวัน สุวรรณรูป
Nantawan Suwonnaroop
format Article
author พนิดา จันทร์ดีแก้วสกุล
Panida Jandeekaewsakul
นันทิยา วัฒายุ
Nantiya Watthayu
นันทวัน สุวรรณรูป
Nantawan Suwonnaroop
author_sort พนิดา จันทร์ดีแก้วสกุล
title ปัจจัยทํานายพฤติกรรมการจัดการตนเองของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุที่ควบคุมไม่ได้
title_short ปัจจัยทํานายพฤติกรรมการจัดการตนเองของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุที่ควบคุมไม่ได้
title_full ปัจจัยทํานายพฤติกรรมการจัดการตนเองของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุที่ควบคุมไม่ได้
title_fullStr ปัจจัยทํานายพฤติกรรมการจัดการตนเองของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุที่ควบคุมไม่ได้
title_full_unstemmed ปัจจัยทํานายพฤติกรรมการจัดการตนเองของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุที่ควบคุมไม่ได้
title_sort ปัจจัยทํานายพฤติกรรมการจัดการตนเองของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุที่ควบคุมไม่ได้
publishDate 2019
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/44191
_version_ 1763488364113166336
spelling th-mahidol.441912023-03-30T13:02:17Z ปัจจัยทํานายพฤติกรรมการจัดการตนเองของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุที่ควบคุมไม่ได้ Factors Predicting Self-Management Behavior among Patients with Uncontrolled Essential Hypertension พนิดา จันทร์ดีแก้วสกุล Panida Jandeekaewsakul นันทิยา วัฒายุ Nantiya Watthayu นันทวัน สุวรรณรูป Nantawan Suwonnaroop มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาการพยาบาลสาธารณสุขศาสตร์ การสื่อสาร ความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุ ความแตกฉานทางสุขภาพ การจัดการตนเอง การสนับสนุนทางสังคม communication esseential hypertension health literacy self-management social support Journal of Nursing Science วารสารพยาบาลศาสตร์ วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาพฤติกรรมการจัดการตนเอง และอํานาจการทํานายของ อายุ เพศ ระดับการศึกษาความแตกฉานทางสุขภาพ การสนับสนุนทางสังคม และการสื่อสารระหว่างผู้ป่วยกับทีมสุขภาพต่อพฤติกรรมการจัดการตนเองของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุที่ควบคุมระดับความดันโลหิตไม่ได้ รูปแบบการวิจัย: การศึกษาเชิงสหสัมพันธ์เพื่อหาอํานาจการทํานาย วิธีดําเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุที่ควบคุมระดับความดันโลหิตไม่ได้ นั่นคือ มีระดับความดันโลหิตมากกว่าหรือเท่ากับ 140/90 มิลลิเมตรปรอท ที่มารับบริการที่ศูนย์บริการสาธารณสุขจํานวน 3 แห่ง สังกัดสํานักอนามัย กรุงเทพมหานคร โดยคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบสะดวกตามเกณฑ์คัดเข้า จํานวน 84 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยแบบสอบถาม ได้แก่ ข้อมูลส่วนบุคคลและการรักษาแบบสอบถามการสนับสนุนทางสังคม แบบประเมินความแตกฉานทางสุขภาพเพื่อวัดความเข้าใจในการอ่านแบบสอบถามการสื่อสารระหว่างผู้ป่วยกับเจ้าหน้าที่ และแบบสอบถามพฤติกรรมการจัดการตนเอง ตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือได้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาครอนบาค เท่ากับ .88, .81, .84, และ .90 ตามลําดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยายและสถิติถดถอยพหุคูณด้วยวิธี stepwiseผลการวิจัย: พฤติกรรมการจัดการตนเองของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุโดยรวมอยู่ในระดับต่ำ (X = 2.00, SD = 1.09) การสนับสนุนทางสังคมเป็นตัวทํานายที่ดีที่สุด (ขั้นที่ 1) สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 15.10 และความแตกฉานทางสุขภาพเป็นตัวทํานายในลําดับต่อไปที่ดีที่สุด หลังจากที่การสนับสนุนทางสังคมรวมอยู่ในสมการถดถอย (ขั้นที่ 2) สามารถอธิบายความแปรปรวนได้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 8.1 (R2change = .081) ดังนั้นการสนับสนุนทางสังคม และความแตกฉานทางสุขภาพ สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ทั้งหมด ร้อยละ 23.20(R2 = .232, F = 12.259, p < .001) การสนับสนุนทางสังคมเป็นปัจจัยที่ทํานายพฤติกรรมการจัดการตนเองของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้มากที่สุด (β = .368, p < .001) รองลงมา คือ ความแตกฉานทางสุขภาพ (β = .285, p = .005)สรุปและข้อเสนอแนะ:การศึกษานี้สามารถใช้เป็นแนวทางสําหรับบุคลากรทางการแพทย์ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง พยาบาลในการพัฒนาโปรแกรมเกี่ยวกับพฤติกรรมการจัดการตนเองของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่มุ่งเน้นการสนับสนุนทางสังคม และการส่งเสริมความแตกฉานทางสุขภาพที่เพียงพอให้มากขึ้น เพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยมีพฤติกรรมการจัดการตนเองที่มีประสิทธิภาพที่ยั่งยืนต่อไป Purpose: To study self-management behavior and predictive power of age, gender, education level, health literacy, social support, and patient-provider communication on self-management behavior among patients with uncontrolled essential hypertension. Design: Correlational predictive study. Methods: The sample consisted of 84 patients with uncontrolled essential hypertension whose blood pressure was 140/90 mmHg or higher. The subjects were recruited from 3 public health centers, under Bangkok Health Department, Bangkok Metropolitan Administration. A convenience sampling was used to recruit 84 subjects. Data were collected using questionnaires including personal data and treatment, Multidimensional Scale of Perceived Social Support, Health Literacy assessment Scale, Patient-provider Communication Questionnaire, and Self-management Behavior Questionnaire. The reliability of the questionnaires were .88, .81, .84, and .90, respectively. Data were analyzed using descriptive statistics and multiple regressions with stepwise method. Main findings: Self-management behavior of patients with uncontrolled essential hypertension was at a low level (gif.latex?\bar{X} = 2.00, SD = 1.09). Social support was the single best predictor (step 1), 15.10% of the variance was accounted and health literacy was the next best predictor, after social support was included in the model (step 2). Health literacy accounted for an additional 8.1% (R2 change = .081) of the variability. Altogether, they could explain 23.20% of variability in self-management (R2 = .232, F = 12.259, p < .001). Social support was the most important predictor of self-management behavior among patients with hypertension (β = .368, p < .001), followed by health literacy (β = .285, p = .005) Conclusion and recommendations: The study finding could be used as a guideline for healthcare providers, in particular to nurses, for developing a self-management behavioral program for patients with hypertension by enhancing social support and promoting health literacy to practice self-management behavior effectively. 2019-06-28T03:20:28Z 2019-06-28T03:20:28Z 2562-06-28 2561 Article วารสารพยาบาลศาสตร์. ปีที่ 36, ฉบับที่ 1 (ม.ค - มี.ค 2561), 31-43 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/44191 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf