การป้องกันและการจัดการภาวะแขนบวมจากน้ำเหลืองคั่งในผู้เป็นมะเร็งเต้านม: บทบาทพยาบาล

แขนบวมจากน้ำเหลืองคั่งเป็นภาวะแทรกซ้อนที่พบมากกว่าร้อยละ 20 ของผู้เป็น มะเร็งเต้านม พบได้ตั้งแต่ช่วงแรกของการรักษาจนถึงภายหลังการรักษาหลายเดือนหรือหลายปี เกิดจากมีการขัดขวางการไหลเวียนน้ำเหลืองจากแขนไม่ให้ไหลกลับหัวใจ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผลจาก การรักษา ทั้งการผ่าตัดเต้านม การตัดเลาะต่อมน้ำเหลือง การฉ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: มลฤดี เกษเพชร, นิโรบล กนกสุนทรรัตน์, Molrudee Kaspad, Nirobol Kanogsunthornrat
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี
Format: Article
Language:Thai
Published: 2019
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/47802
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.47802
record_format dspace
spelling th-mahidol.478022023-03-30T19:54:03Z การป้องกันและการจัดการภาวะแขนบวมจากน้ำเหลืองคั่งในผู้เป็นมะเร็งเต้านม: บทบาทพยาบาล Prevention and Management of Arm Lymphedema in Breast Cancer Survivors: Nurse’s Roles มลฤดี เกษเพชร นิโรบล กนกสุนทรรัตน์ Molrudee Kaspad Nirobol Kanogsunthornrat มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี ภาวะแขนบวมจากน้ำเหลืองคั่ง ผู้เป็นมะเร็งเต้านม การป้องกัน การควบคุม บทบาทพยาบาล Arm lymphedema Breast cancer survivors Prevention Control Nurse's roles แขนบวมจากน้ำเหลืองคั่งเป็นภาวะแทรกซ้อนที่พบมากกว่าร้อยละ 20 ของผู้เป็น มะเร็งเต้านม พบได้ตั้งแต่ช่วงแรกของการรักษาจนถึงภายหลังการรักษาหลายเดือนหรือหลายปี เกิดจากมีการขัดขวางการไหลเวียนน้ำเหลืองจากแขนไม่ให้ไหลกลับหัวใจ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผลจาก การรักษา ทั้งการผ่าตัดเต้านม การตัดเลาะต่อมน้ำเหลือง การฉายรังสีบริเวณใกล้เคียง และยาเคมี บำบัดบางชนิด เมื่อเกิดขึ้นแล้วมักหายยาก ก่อให้เกิดอาการไม่สุขสบายและกระทบต่อการดำรง ชีวิต ภาวะนี้สามารถป้องกันและควบคุมได้ พยาบาลมีบทบาทสำคัญในการป้องกันการเกิดและ ลดอาการไม่ให้รุนแรงจนรักษายาก บทความนี้ทบทวนความรู้เกี่ยวกับภาวะแขนบวมจากน้ำเหลืองคั่ง ในผู้เป็นมะเร็งเต้านม โดยมีเนื้อหาครอบคลุมอุบัติการณ์ พยาธิสรีระ ระดับความรุนแรง สาเหตุ ปัจจัยเสี่ยง ผลกระทบ การประเมิน การรักษา และเสนอแนะบทบาทพยาบาลในการป้องกันและ การควบคุมภาวะแขนบวมจากน้ำเหลืองคั่งในผู้เป็นมะเร็งเต้านม Arm lymphedema is a complication found up to 20% of breast cancer survivors. It can be found from during treatment to after treatment for months or years. Arm lymphedema results from blockage of the lymphatic flow from arm to the heart that is caused mainly by breast cancer treatments including breast surgery, axillary lymph node dissection, radiation therapy, and some types of chemotherapy. Once occurred, it is hard to be cured causing discomfort and affecting livelihood of the breast cancer survivors. This condition can be prevented and controlled. Nurses have an important role in preventive care to minimize and control symptoms severity. This article reviews the knowledge of breast cancer associated arm lymphedema including incidence, pathophysiology, severity, causes, risk factors, impacts, assessment, treatment, and recommendations the nursing roles in prevention and control of breast cancer-related arm lymphedema. 2019-09-20T04:09:36Z 2019-09-20T04:09:36Z 2562-09-20 2560 Article รามาธิบดีพยาบาลสาร. ปีที่ 23, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-เม.ย. 2560), 1-10 0858-9739 (Print) 2672-9784 (Online) https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/47802 tha มหาวิทยาลัยมหิดล โรงเรีียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic ภาวะแขนบวมจากน้ำเหลืองคั่ง
ผู้เป็นมะเร็งเต้านม
การป้องกัน
การควบคุม
บทบาทพยาบาล
Arm lymphedema
Breast cancer survivors
Prevention
Control
Nurse's roles
spellingShingle ภาวะแขนบวมจากน้ำเหลืองคั่ง
ผู้เป็นมะเร็งเต้านม
การป้องกัน
การควบคุม
บทบาทพยาบาล
Arm lymphedema
Breast cancer survivors
Prevention
Control
Nurse's roles
มลฤดี เกษเพชร
นิโรบล กนกสุนทรรัตน์
Molrudee Kaspad
Nirobol Kanogsunthornrat
การป้องกันและการจัดการภาวะแขนบวมจากน้ำเหลืองคั่งในผู้เป็นมะเร็งเต้านม: บทบาทพยาบาล
description แขนบวมจากน้ำเหลืองคั่งเป็นภาวะแทรกซ้อนที่พบมากกว่าร้อยละ 20 ของผู้เป็น มะเร็งเต้านม พบได้ตั้งแต่ช่วงแรกของการรักษาจนถึงภายหลังการรักษาหลายเดือนหรือหลายปี เกิดจากมีการขัดขวางการไหลเวียนน้ำเหลืองจากแขนไม่ให้ไหลกลับหัวใจ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผลจาก การรักษา ทั้งการผ่าตัดเต้านม การตัดเลาะต่อมน้ำเหลือง การฉายรังสีบริเวณใกล้เคียง และยาเคมี บำบัดบางชนิด เมื่อเกิดขึ้นแล้วมักหายยาก ก่อให้เกิดอาการไม่สุขสบายและกระทบต่อการดำรง ชีวิต ภาวะนี้สามารถป้องกันและควบคุมได้ พยาบาลมีบทบาทสำคัญในการป้องกันการเกิดและ ลดอาการไม่ให้รุนแรงจนรักษายาก บทความนี้ทบทวนความรู้เกี่ยวกับภาวะแขนบวมจากน้ำเหลืองคั่ง ในผู้เป็นมะเร็งเต้านม โดยมีเนื้อหาครอบคลุมอุบัติการณ์ พยาธิสรีระ ระดับความรุนแรง สาเหตุ ปัจจัยเสี่ยง ผลกระทบ การประเมิน การรักษา และเสนอแนะบทบาทพยาบาลในการป้องกันและ การควบคุมภาวะแขนบวมจากน้ำเหลืองคั่งในผู้เป็นมะเร็งเต้านม
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี
มลฤดี เกษเพชร
นิโรบล กนกสุนทรรัตน์
Molrudee Kaspad
Nirobol Kanogsunthornrat
format Article
author มลฤดี เกษเพชร
นิโรบล กนกสุนทรรัตน์
Molrudee Kaspad
Nirobol Kanogsunthornrat
author_sort มลฤดี เกษเพชร
title การป้องกันและการจัดการภาวะแขนบวมจากน้ำเหลืองคั่งในผู้เป็นมะเร็งเต้านม: บทบาทพยาบาล
title_short การป้องกันและการจัดการภาวะแขนบวมจากน้ำเหลืองคั่งในผู้เป็นมะเร็งเต้านม: บทบาทพยาบาล
title_full การป้องกันและการจัดการภาวะแขนบวมจากน้ำเหลืองคั่งในผู้เป็นมะเร็งเต้านม: บทบาทพยาบาล
title_fullStr การป้องกันและการจัดการภาวะแขนบวมจากน้ำเหลืองคั่งในผู้เป็นมะเร็งเต้านม: บทบาทพยาบาล
title_full_unstemmed การป้องกันและการจัดการภาวะแขนบวมจากน้ำเหลืองคั่งในผู้เป็นมะเร็งเต้านม: บทบาทพยาบาล
title_sort การป้องกันและการจัดการภาวะแขนบวมจากน้ำเหลืองคั่งในผู้เป็นมะเร็งเต้านม: บทบาทพยาบาล
publishDate 2019
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/47802
_version_ 1763489307250655232