การประเมินคุณภาพผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ : ปัจจุบันและแนวโน้มในอนาคต (1)

การประเมินคุณภาพผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติโดยทั่วไปมักนิยมใช้เกณฑ์ในการพิจารณาหลายอย่างประกอบกันทั้งในเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ บทความนี้เป็นการศึกษาและรวบรวมข้อมูลจากเอกสารและเว็บไซต์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการประเมินผลงานวิจัยตามหลักสากลที่นิยมใช้กันทั่วโลก เครื่องมือสืบค้นและฐาน...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: รุจเรขา วิทยาวุฑฒิกุล
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะวิทยาศาสตร์
Format: Article
Language:Thai
Published: 2019
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/47904
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
Description
Summary:การประเมินคุณภาพผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติโดยทั่วไปมักนิยมใช้เกณฑ์ในการพิจารณาหลายอย่างประกอบกันทั้งในเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ บทความนี้เป็นการศึกษาและรวบรวมข้อมูลจากเอกสารและเว็บไซต์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการประเมินผลงานวิจัยตามหลักสากลที่นิยมใช้กันทั่วโลก เครื่องมือสืบค้นและฐานข้อมูลที่ใช้ในการประเมินคุณภาพวารสารและผลงานวิจัย ตัวชี้วัดชนิดต่างๆ ได้แก่ ค่า Impact factor, Eigenfactor, SJR, SNIP, ควอไทล์ (Quartile score) และ h index จากฐานข้อมูลของบริษัท Thomson Reuters, Elsevier, Google และแหล่งข้อมูลอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ตัวชี้วัดอื่นๆ ที่มีลักษณะคล้ายคลึงกับ Impact factor ของ Thomson Reuters ซึ่งอาจทำให้เข้าใจผิด รวมทั้งค่า Impact factor ของวารสารไทย นอกจากนี้ยังได้ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับรูปแบบทางธุรกิจของสำนักพิมพ์วารสารในปัจจุบัน สำนักพิมพ์วารสารเสรี (Open access: OA) ข้อควรระวังสำหรับสำนักพิมพ์ที่มีพฤติกรรมเข้าข่าย Predatory OA publishers แนวโน้มของวารสารวิชาการและวิธีประเมินคุณภาพรูปแบบใหม่ในยุคสื่อสังคมออนไลน์ที่อาจนำมาใช้ในอนาคต ทั้งนี้ เพื่อนำแนวคิดและวิธีการประเมินคุณภาพผลงานวิจัยมาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับบริบทของประเทศไทยต่อไป