ปัจจัยทำนายความสามารถของมารดาในการดูแลบุตรวัยขวบปีแรกในเขตกรุงเทพมหานคร

การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยทำนายความสามารถของมารดาในการดูแล บุตรวัยขวบปีแรกในเขตกรุงเทพมหานคร โดยใช้แนวคิดการดูแลบุคคลที่ต้องพึ่งพาในทฤษฎีการ ดูแลตนเองของโอเร็มเป็นกรอบแนวคิดในการศึกษา การเลือกกลุ่มตัวอย่างใช้วิธีการสุ่มตัวอย่าง แบบเจาะจง จำนวน 133 ราย เก็บรวบรวมข้อมูล โดยใช้แบบสอบถ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ชนิกานต์ ชาญเดช, เสริมศรี สันตติ, จริยา วิทยะศุภร, Chanikan Chandate, Sermsri Santati, Jariya Wittayasooporn
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี
Format: Article
Language:Thai
Published: 2019
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/47966
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.47966
record_format dspace
spelling th-mahidol.479662023-03-31T02:42:06Z ปัจจัยทำนายความสามารถของมารดาในการดูแลบุตรวัยขวบปีแรกในเขตกรุงเทพมหานคร Factors Predicting Mother’s Abilities to Take Care of Children Under One Year of Age in Bangkok Metropolis ชนิกานต์ ชาญเดช เสริมศรี สันตติ จริยา วิทยะศุภร Chanikan Chandate Sermsri Santati Jariya Wittayasooporn มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี ความสามารถในการดูแลบุตร มารดา บุตรวัยขวบปีแรก สัมพันธภาพระหว่างคู่สมรส สัมพันธภาพระหว่างมารดาและทารก Ability to take care of children Mother Children under one year of age Marital relationship Maternal-infant relationship การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยทำนายความสามารถของมารดาในการดูแล บุตรวัยขวบปีแรกในเขตกรุงเทพมหานคร โดยใช้แนวคิดการดูแลบุคคลที่ต้องพึ่งพาในทฤษฎีการ ดูแลตนเองของโอเร็มเป็นกรอบแนวคิดในการศึกษา การเลือกกลุ่มตัวอย่างใช้วิธีการสุ่มตัวอย่าง แบบเจาะจง จำนวน 133 ราย เก็บรวบรวมข้อมูล โดยใช้แบบสอบถาม 6 ชุด ประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคลของมารดาและเด็ก แบบสอบถามสัมพันธภาพระหว่างคู่สมรส แบบประเมินสัมพันธภาพระหว่างมารดาและทารก แบบสอบถามคุณภาพการดูแลของบุคลากร ทางการแพทย์ที่ให้กับมารดา แบบสอบถามแรงสนับสนุนทางสังคม และแบบวัดความสามารถของ มารดาในการดูแลบุตรวัยขวบปีแรก วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติบรรยาย ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ ของเพียร์สัน และการวิเคราะห์ความถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า สัมพันธภาพ ระหว่างคู่สมรส สัมพันธภาพระหว่างมารดาและทารก คุณภาพการดูแลของบุคลากรทางการแพทย์ และแรงสนับสนุนทางสังคม สามารถร่วมกันทำนายความสามารถของมารดาในการดูแลบุตร วัยขวบปีแรกได้ร้อยละ 95.60 ดังนั้น พยาบาลควรคำนึงถึงปัจจัยด้านสัมพันธภาพระหว่างคู่สมรส สัมพันธภาพระหว่างมารดาและทารก คุณภาพการดูแลของบุคลากรทางการแพทย์ และ แรงสนับสนุนทางสังคมของมารดา เพื่อใช้ในการพิจารณาแก้ปัญหาและส่งเสริมมารดาให้มีการ พัฒนาความสามารถในการดูแลเด็กวัยขวบปีแรกให้มากขึ้น The objectives of this study were to determine factors for predicting mothers’ residing in the Bangkok Metropolis. The dependent-care agency, which is a concept in Orem’s theory of self-care, was used to guide the concepteral framework of this study. The study sample group was recruited by means of purposive sampling. The total number of subjects was 133. Data were collected with 6 questionnaires as follows: the Mother and Child Demographic Characteristics Questionnaire, the Marital Relationship Questionnaire, the Mother-Infant Relationship Questionnaire, the Quality of Care Provided by Healthcare Staffs Questionnaire, the Social Support Questionnaire, and the Mother’s Ability to Take Care of Children under One Year of Age Questionnaire. Data were analyzed using descriptive statistics, Pearson’s correlation coefficient, and stepwise multiple regression analysis. The study findings revealed that the mariatal relationship, maternal-infant relationship, quality of care provided by healthcare staffs, and social support could jointly predict mothers’ abilities to take care of children under one year of age by 95.60%. Based on the study findings, it is recommended that nurses should take the factors of marital relationship, mother-infant relationship, quality of care provided by healthcare staffs, and social support of mothers into consideration to solve problems. 2019-10-25T03:11:37Z 2019-10-25T03:11:37Z 2562-10-25 2558 Article รามาธิบดีพยาบาลสาร. ปีที่ 21, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-เม.ย. 2558), 21-37 0858-9739 (Print) 2672-9784 (Online) https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/47966 tha มหาวิทยาลัยมหิดล โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic ความสามารถในการดูแลบุตร
มารดา
บุตรวัยขวบปีแรก
สัมพันธภาพระหว่างคู่สมรส
สัมพันธภาพระหว่างมารดาและทารก
Ability to take care of children
Mother
Children under one year of age
Marital relationship
Maternal-infant relationship
spellingShingle ความสามารถในการดูแลบุตร
มารดา
บุตรวัยขวบปีแรก
สัมพันธภาพระหว่างคู่สมรส
สัมพันธภาพระหว่างมารดาและทารก
Ability to take care of children
Mother
Children under one year of age
Marital relationship
Maternal-infant relationship
ชนิกานต์ ชาญเดช
เสริมศรี สันตติ
จริยา วิทยะศุภร
Chanikan Chandate
Sermsri Santati
Jariya Wittayasooporn
ปัจจัยทำนายความสามารถของมารดาในการดูแลบุตรวัยขวบปีแรกในเขตกรุงเทพมหานคร
description การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยทำนายความสามารถของมารดาในการดูแล บุตรวัยขวบปีแรกในเขตกรุงเทพมหานคร โดยใช้แนวคิดการดูแลบุคคลที่ต้องพึ่งพาในทฤษฎีการ ดูแลตนเองของโอเร็มเป็นกรอบแนวคิดในการศึกษา การเลือกกลุ่มตัวอย่างใช้วิธีการสุ่มตัวอย่าง แบบเจาะจง จำนวน 133 ราย เก็บรวบรวมข้อมูล โดยใช้แบบสอบถาม 6 ชุด ประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคลของมารดาและเด็ก แบบสอบถามสัมพันธภาพระหว่างคู่สมรส แบบประเมินสัมพันธภาพระหว่างมารดาและทารก แบบสอบถามคุณภาพการดูแลของบุคลากร ทางการแพทย์ที่ให้กับมารดา แบบสอบถามแรงสนับสนุนทางสังคม และแบบวัดความสามารถของ มารดาในการดูแลบุตรวัยขวบปีแรก วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติบรรยาย ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ ของเพียร์สัน และการวิเคราะห์ความถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า สัมพันธภาพ ระหว่างคู่สมรส สัมพันธภาพระหว่างมารดาและทารก คุณภาพการดูแลของบุคลากรทางการแพทย์ และแรงสนับสนุนทางสังคม สามารถร่วมกันทำนายความสามารถของมารดาในการดูแลบุตร วัยขวบปีแรกได้ร้อยละ 95.60 ดังนั้น พยาบาลควรคำนึงถึงปัจจัยด้านสัมพันธภาพระหว่างคู่สมรส สัมพันธภาพระหว่างมารดาและทารก คุณภาพการดูแลของบุคลากรทางการแพทย์ และ แรงสนับสนุนทางสังคมของมารดา เพื่อใช้ในการพิจารณาแก้ปัญหาและส่งเสริมมารดาให้มีการ พัฒนาความสามารถในการดูแลเด็กวัยขวบปีแรกให้มากขึ้น
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี
ชนิกานต์ ชาญเดช
เสริมศรี สันตติ
จริยา วิทยะศุภร
Chanikan Chandate
Sermsri Santati
Jariya Wittayasooporn
format Article
author ชนิกานต์ ชาญเดช
เสริมศรี สันตติ
จริยา วิทยะศุภร
Chanikan Chandate
Sermsri Santati
Jariya Wittayasooporn
author_sort ชนิกานต์ ชาญเดช
title ปัจจัยทำนายความสามารถของมารดาในการดูแลบุตรวัยขวบปีแรกในเขตกรุงเทพมหานคร
title_short ปัจจัยทำนายความสามารถของมารดาในการดูแลบุตรวัยขวบปีแรกในเขตกรุงเทพมหานคร
title_full ปัจจัยทำนายความสามารถของมารดาในการดูแลบุตรวัยขวบปีแรกในเขตกรุงเทพมหานคร
title_fullStr ปัจจัยทำนายความสามารถของมารดาในการดูแลบุตรวัยขวบปีแรกในเขตกรุงเทพมหานคร
title_full_unstemmed ปัจจัยทำนายความสามารถของมารดาในการดูแลบุตรวัยขวบปีแรกในเขตกรุงเทพมหานคร
title_sort ปัจจัยทำนายความสามารถของมารดาในการดูแลบุตรวัยขวบปีแรกในเขตกรุงเทพมหานคร
publishDate 2019
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/47966
_version_ 1763487781427871744