แนวคิดและบทบาทพยาบาลในการเตรียมพร้อมรับภัยพิบัติ

ภัยพิบัติมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นก่อให้เกิดความสูญเสียชีวิตและทรัพย์สินอย่างมหาศาล ทุกประเทศทั่วโลกต่างให้ความสนใจร่วมมือกันจัดทำแนวทางปฏิบัติเพื่อการจัดการภัยพิบัติโดย มีแนวคิด คือ การป้องกัน การลดความรุนแรง การเตรียมพร้อมรับ การรับสถานการณ์ฉุกเฉิน การฟื้นฟูสภาพ และการพัฒนาซึ่งแต่ละขั้นตอนประกอบด้ว...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: อมรรัตน์ นธะสนธิ์, ไพลิน พิณทอง, นพวรรณ เปียซื่อ, Amornrat Natason, Pailin Pinthong, Noppawan Piaseu
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี
Format: Article
Language:Thai
Published: 2019
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/47972
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
Description
Summary:ภัยพิบัติมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นก่อให้เกิดความสูญเสียชีวิตและทรัพย์สินอย่างมหาศาล ทุกประเทศทั่วโลกต่างให้ความสนใจร่วมมือกันจัดทำแนวทางปฏิบัติเพื่อการจัดการภัยพิบัติโดย มีแนวคิด คือ การป้องกัน การลดความรุนแรง การเตรียมพร้อมรับ การรับสถานการณ์ฉุกเฉิน การฟื้นฟูสภาพ และการพัฒนาซึ่งแต่ละขั้นตอนประกอบด้วยการปฏิบัติที่เหมาะสมกับวงจรการ เกิดภัยพิบัติได้แก่ ระยะก่อนเกิด ขณะเกิด และหลังเกิดภัยพิบัติประเทศไทยประสบภัยพิบัติ ต่างๆมากมายและได้ถูกจัดอันดับให้เป็นประเทศที่มีพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดอุทกภัยดังนั้นพยาบาล ซึ่งเป็นหนึ่งในทีมสุขภาพที่มีบทบาทสำคัญในการเตรียมพร้อมรับภัยพิบัติควรได้รับการส่งเสริม ให้มีสมรรถนะด้านการพยาบาลในภาวะภัยพิบัติ4 ด้าน ได้แก่ การป้องกัน/การลดความรุนแรง การเตรียมพร้อมรับ การรับมือ/ตอบสนองต่อภัยพิบัติในทันทีและการพักฟื้น/ฟื้นฟูสภาพ เพื่อ ที่จะสามารถนำความรู้และทักษะมาประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ภัยพิบัติได้โดยอาศัยความ ร่วมมือจากทุกภาคส่วน และเน้นชุมชนเป็นศูนย์กลางในการจัดการภัยพิบัติเพื่อลดผลกระทบที่ เกิดขึ้นและช่วยบุคคลและชุมชนให้ฟื้นตัวจากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นได้เร็วที่สุด