การใช้นวัตกรรมหุ่นแขนในการฝึกหัตถการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำของนักศึกษาพยาบาล

การวิจัยกึ่งทดลองครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนานวัตกรรมหุ่นแขนให้สารน้ำทาง หลอดเลือดดำให้มีลักษณะทางกายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาคล้ายมนุษย์และเปรียบเทียบผล การใช้นวัตกรรมหุ่นแขนฯกับหุ่นแขนให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำแบบเดิม ใช้กรอบแนวคิดกรวย ประสบการณ์ของเดล เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงตามคุณสมบัติที่ก...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: สุภลักษณ์ เชยชม, ดลรัตน์ รุจิวัฒนากร, Supalak Choeychom, Dolrat Rujiwatthanakorn
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี
Format: Article
Language:Thai
Published: 2019
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/47984
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.47984
record_format dspace
spelling th-mahidol.479842023-03-30T18:02:30Z การใช้นวัตกรรมหุ่นแขนในการฝึกหัตถการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำของนักศึกษาพยาบาล The Use of an Innovative Arm Mode in Practicing an Intravenous Infusion Procedure of Nursing Students สุภลักษณ์ เชยชม ดลรัตน์ รุจิวัฒนากร Supalak Choeychom Dolrat Rujiwatthanakorn มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี นวัตกรรมหุ่นแขน การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ การฝึกหัตถการในห้องปฏิบัติการ นักศึกษาพยาบาล Innovative arm model Intravenous fluid infusion Practice skills lab Nursing students การวิจัยกึ่งทดลองครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนานวัตกรรมหุ่นแขนให้สารน้ำทาง หลอดเลือดดำให้มีลักษณะทางกายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาคล้ายมนุษย์และเปรียบเทียบผล การใช้นวัตกรรมหุ่นแขนฯกับหุ่นแขนให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำแบบเดิม ใช้กรอบแนวคิดกรวย ประสบการณ์ของเดล เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงตามคุณสมบัติที่กำหนด กลุ่มตัวอย่างเป็น นักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 2 มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐแห่งหนึ่งลงทะเบียนเรียนวิชาปฏิบัติการ พยาบาลรากฐาน 1 จำนวน 152 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง ประกอบด้วย หุ่นแขนฯ แบบ เดิมและนวัตกรรมหุ่นแขนฯ เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูล ส่วนบุคคลและแบบประเมินการใช้หุ่นแขนให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำซึ่งประเมินคุณภาพ4ด้าน ได้แก่ 1) ความเหมือนจริง 2) ทักษะการปฏิบัติในการแทงเข็มให้สารน้ำ 3) เจตคติต่อวิชาชีพ พยาบาลเมื่อแทงเข็มให้สารน้ำและ 4) การนำไปใช้การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติบรรยาย และสถิติ Wilcoxon Signed-Rank Test ผลการวิจัยพบว่า คะแนนประเมินการใช้นวัตกรรมหุ่นแขนฯสูงกว่า หุ่นแขนฯแบบเดิมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกลุ่มตัวอย่างให้ข้อคิดเห็นว่า คุณลักษณะของ นวัตกรรมหุ่นแขนฯที่มีเลือดไหลย้อนเมื่อแทงเข็มเข้าหลอดเลือดดำช่วยเสริมสร้างความมั่นใจ ความพร้อมในการปฏิบัติงานจริงให้แก่นักศึกษา และต้องการให้นวัตกรรมหุ่นแขนฯมีสิ่งบ่งชี้เมื่อ แทงเข็มทะลุออกนอกหลอดเลือดหรือไม่ตรงตำแหน่งข้อเสนอแนะจากการวิจัยครั้งนี้นำไปสู่การ พัฒนาคุณลักษณะและประสิทธิภาพของนวัตกรรมหุ่นแขนเพื่อฝึกหัตถการให้สารน้ำทางหลอด เลือดดำต่อไป The aim of this quasi-experimental study was to develop innovative arm model intravenous infusion based on human anatomy and physiology and to compare types of arm models—a conventional arm model and an innovative arm model. The Edgar Dale’s theoretical framework was used as a conceptual framework. Purposive sampling was used. The sample comprised 152 second-year nursing students who enrolled in a Fundamental Nursing class at a university hospital. The instruments consisted of a conventional arm model and an innovative arm model. The instruments used for data collection consisted of the Personal Information Questionnaire and the Assessment Form in four aspects including 1) realism, 2) the skill for intravenous (IV) catheter insertion, 3) the attitude toward IV catheter insertion, and 4) the application. Data were analyzed using descriptive statistics and Wilcoxon Signed-Rank Test. The results revealed that the overall score in using the innovative arm model was significantly higher than those in the conventional arm model. While most of the opinion expressed that practicing with the innovative arm model enhanced them to gain confidence and readiness for clinical practice and also suggests a new effective tool for teaching the intravenous catheter insertion. 2019-10-30T06:20:22Z 2019-10-30T06:20:22Z 2562-10-30 2558 Research Article รามาธิบดีพยาบาลสาร. ปีที่ 21, ฉบับที่ 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2558), 395-407 0858-9739 (Print) 2672-9784 (Online) https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/47984 tha มหาวิทยาลัยมหิดล โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic นวัตกรรมหุ่นแขน
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การฝึกหัตถการในห้องปฏิบัติการ
นักศึกษาพยาบาล
Innovative arm model
Intravenous fluid infusion
Practice skills lab
Nursing students
spellingShingle นวัตกรรมหุ่นแขน
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การฝึกหัตถการในห้องปฏิบัติการ
นักศึกษาพยาบาล
Innovative arm model
Intravenous fluid infusion
Practice skills lab
Nursing students
สุภลักษณ์ เชยชม
ดลรัตน์ รุจิวัฒนากร
Supalak Choeychom
Dolrat Rujiwatthanakorn
การใช้นวัตกรรมหุ่นแขนในการฝึกหัตถการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำของนักศึกษาพยาบาล
description การวิจัยกึ่งทดลองครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนานวัตกรรมหุ่นแขนให้สารน้ำทาง หลอดเลือดดำให้มีลักษณะทางกายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาคล้ายมนุษย์และเปรียบเทียบผล การใช้นวัตกรรมหุ่นแขนฯกับหุ่นแขนให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำแบบเดิม ใช้กรอบแนวคิดกรวย ประสบการณ์ของเดล เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงตามคุณสมบัติที่กำหนด กลุ่มตัวอย่างเป็น นักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 2 มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐแห่งหนึ่งลงทะเบียนเรียนวิชาปฏิบัติการ พยาบาลรากฐาน 1 จำนวน 152 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง ประกอบด้วย หุ่นแขนฯ แบบ เดิมและนวัตกรรมหุ่นแขนฯ เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูล ส่วนบุคคลและแบบประเมินการใช้หุ่นแขนให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำซึ่งประเมินคุณภาพ4ด้าน ได้แก่ 1) ความเหมือนจริง 2) ทักษะการปฏิบัติในการแทงเข็มให้สารน้ำ 3) เจตคติต่อวิชาชีพ พยาบาลเมื่อแทงเข็มให้สารน้ำและ 4) การนำไปใช้การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติบรรยาย และสถิติ Wilcoxon Signed-Rank Test ผลการวิจัยพบว่า คะแนนประเมินการใช้นวัตกรรมหุ่นแขนฯสูงกว่า หุ่นแขนฯแบบเดิมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกลุ่มตัวอย่างให้ข้อคิดเห็นว่า คุณลักษณะของ นวัตกรรมหุ่นแขนฯที่มีเลือดไหลย้อนเมื่อแทงเข็มเข้าหลอดเลือดดำช่วยเสริมสร้างความมั่นใจ ความพร้อมในการปฏิบัติงานจริงให้แก่นักศึกษา และต้องการให้นวัตกรรมหุ่นแขนฯมีสิ่งบ่งชี้เมื่อ แทงเข็มทะลุออกนอกหลอดเลือดหรือไม่ตรงตำแหน่งข้อเสนอแนะจากการวิจัยครั้งนี้นำไปสู่การ พัฒนาคุณลักษณะและประสิทธิภาพของนวัตกรรมหุ่นแขนเพื่อฝึกหัตถการให้สารน้ำทางหลอด เลือดดำต่อไป
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี
สุภลักษณ์ เชยชม
ดลรัตน์ รุจิวัฒนากร
Supalak Choeychom
Dolrat Rujiwatthanakorn
format Article
author สุภลักษณ์ เชยชม
ดลรัตน์ รุจิวัฒนากร
Supalak Choeychom
Dolrat Rujiwatthanakorn
author_sort สุภลักษณ์ เชยชม
title การใช้นวัตกรรมหุ่นแขนในการฝึกหัตถการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำของนักศึกษาพยาบาล
title_short การใช้นวัตกรรมหุ่นแขนในการฝึกหัตถการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำของนักศึกษาพยาบาล
title_full การใช้นวัตกรรมหุ่นแขนในการฝึกหัตถการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำของนักศึกษาพยาบาล
title_fullStr การใช้นวัตกรรมหุ่นแขนในการฝึกหัตถการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำของนักศึกษาพยาบาล
title_full_unstemmed การใช้นวัตกรรมหุ่นแขนในการฝึกหัตถการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำของนักศึกษาพยาบาล
title_sort การใช้นวัตกรรมหุ่นแขนในการฝึกหัตถการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำของนักศึกษาพยาบาล
publishDate 2019
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/47984
_version_ 1763494512228827136