การสร้างสรรค์รูปแบบการท่องเที่ยวเชิงบูรณาการพื้นที่ อ.โขงเจียม จ.อุบลราชธานี

การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสำรวจสถานการณ์การใช้ทรัพยากรและประเมินศักยภาพในการจัดการทรัพยากรท้องถิ่นเป็นทรัพยากรท่องเที่ยว เพื่อสร้างแบบอย่างการท่องเที่ยวเชิงบูรณาการ และเพื่อวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของแบบอย่างการท่องเที่ยวเชิงบูรณาการ ผลการวิจัยพบว่า ศักภาพในการจัดการทรัพยากรท้องถิ่นเป็...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: วิชชานันท์ ผ่องศรี, สมพงษ์ ธงไชย
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์
Format: Article
Language:Thai
Published: 2011
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/48078
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.48078
record_format dspace
spelling th-mahidol.480782023-04-12T15:23:32Z การสร้างสรรค์รูปแบบการท่องเที่ยวเชิงบูรณาการพื้นที่ อ.โขงเจียม จ.อุบลราชธานี The creative integrated tourism model in Amphoe Khongjeam, Ubonratchathani Province, Thailand วิชชานันท์ ผ่องศรี สมพงษ์ ธงไชย มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ แบบจำลองการท่องเที่ยว การท่องเที่ยวแบบบูรณาการ การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ชุมชน Tourism Model Integrated Tourism Community Based Ecotourism การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสำรวจสถานการณ์การใช้ทรัพยากรและประเมินศักยภาพในการจัดการทรัพยากรท้องถิ่นเป็นทรัพยากรท่องเที่ยว เพื่อสร้างแบบอย่างการท่องเที่ยวเชิงบูรณาการ และเพื่อวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของแบบอย่างการท่องเที่ยวเชิงบูรณาการ ผลการวิจัยพบว่า ศักภาพในการจัดการทรัพยากรท้องถิ่นเป็นทรัพยากรท่องเที่ยวอยู่ในเกณฑ์ดีมาก การศึกษารูปแบบการท่องเที่ยวพบว่า หมู่บ้านเวินบึกได้รูปแบบการท่องเที่ยวทางธรรมชาติเป็นหลัก เพราะอยู่ใกล้เขตอุทยานแห่งชาติแก่งตะนะ และปากแม่น้ามูลซึ่งไหลมาบรรจบกับแม่น้าโขง บ้านตามุยได้รูปแบบการท่องเที่ยวเชิงเกษตร เพราะมีการทาสวนเกษตรไม้ผลริมแม่น้าโขง บ้านท่าล้งได้รูปแบบการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม เพราะเป็นหมู่บ้านของชนเผ่าบรู บ้านซะซอมได้รูปแบบการท่องเที่ยวเกษตรผสมผสานในหลักการเกษตรทฤษฎีใหม่ บนพื้นฐานปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพราะมีการทำนาข้าว และการท่องเที่ยวโฮมสเตย์ เพราะเป็นหมู่บ้านแห่งแรกที่มีการจัดการท่องเที่ยวแบบโฮมสเตย์ของอำเภอโขงเจียม. The objectives of this work were to study and survey resources use and potential assessment of resources management for tourism; to create on integrated tourism model; and to analyze the possibility of on integrated tourism model. The research finding showed that potential of local resources management for tourism resources is good. The tourism models showed that Wernbueg village is mainly suitable for natural tourism because it is close to Kaengtana National Park and the Moon River that flows into the Mekong River. Tamui village is mainly suitable for agrotourism because there are fruit orchards on the bank of the Mekong River. Thalong village is mainly suitable for cultural tourism because it is the village of the Bru tribe. And Sasorm village is mainly suitable for integrated agricultural tourism based on the new theory agriculture in accordance with the sufficiency economy philosophy because there is rice farming. Also this village is suitable for homestay tourism because it is the first village to have had management of homestay tourism in Khongjeam district. 2011-05-25T08:27:38Z 2019-11-28T03:19:28Z 2011-05-25T08:27:38Z 2019-11-28T03:19:28Z 2011-05-25 2007-12 Article Environment and Natural Resources Journal. Vol. 5, No.2 (Dec. 2007), 164- 172 1686-6096 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/48078 tha มหาวิทยาลัยมหิดล
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic แบบจำลองการท่องเที่ยว
การท่องเที่ยวแบบบูรณาการ
การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ชุมชน
Tourism Model
Integrated Tourism
Community Based Ecotourism
spellingShingle แบบจำลองการท่องเที่ยว
การท่องเที่ยวแบบบูรณาการ
การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ชุมชน
Tourism Model
Integrated Tourism
Community Based Ecotourism
วิชชานันท์ ผ่องศรี
สมพงษ์ ธงไชย
การสร้างสรรค์รูปแบบการท่องเที่ยวเชิงบูรณาการพื้นที่ อ.โขงเจียม จ.อุบลราชธานี
description การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสำรวจสถานการณ์การใช้ทรัพยากรและประเมินศักยภาพในการจัดการทรัพยากรท้องถิ่นเป็นทรัพยากรท่องเที่ยว เพื่อสร้างแบบอย่างการท่องเที่ยวเชิงบูรณาการ และเพื่อวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของแบบอย่างการท่องเที่ยวเชิงบูรณาการ ผลการวิจัยพบว่า ศักภาพในการจัดการทรัพยากรท้องถิ่นเป็นทรัพยากรท่องเที่ยวอยู่ในเกณฑ์ดีมาก การศึกษารูปแบบการท่องเที่ยวพบว่า หมู่บ้านเวินบึกได้รูปแบบการท่องเที่ยวทางธรรมชาติเป็นหลัก เพราะอยู่ใกล้เขตอุทยานแห่งชาติแก่งตะนะ และปากแม่น้ามูลซึ่งไหลมาบรรจบกับแม่น้าโขง บ้านตามุยได้รูปแบบการท่องเที่ยวเชิงเกษตร เพราะมีการทาสวนเกษตรไม้ผลริมแม่น้าโขง บ้านท่าล้งได้รูปแบบการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม เพราะเป็นหมู่บ้านของชนเผ่าบรู บ้านซะซอมได้รูปแบบการท่องเที่ยวเกษตรผสมผสานในหลักการเกษตรทฤษฎีใหม่ บนพื้นฐานปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพราะมีการทำนาข้าว และการท่องเที่ยวโฮมสเตย์ เพราะเป็นหมู่บ้านแห่งแรกที่มีการจัดการท่องเที่ยวแบบโฮมสเตย์ของอำเภอโขงเจียม.
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์
วิชชานันท์ ผ่องศรี
สมพงษ์ ธงไชย
format Article
author วิชชานันท์ ผ่องศรี
สมพงษ์ ธงไชย
author_sort วิชชานันท์ ผ่องศรี
title การสร้างสรรค์รูปแบบการท่องเที่ยวเชิงบูรณาการพื้นที่ อ.โขงเจียม จ.อุบลราชธานี
title_short การสร้างสรรค์รูปแบบการท่องเที่ยวเชิงบูรณาการพื้นที่ อ.โขงเจียม จ.อุบลราชธานี
title_full การสร้างสรรค์รูปแบบการท่องเที่ยวเชิงบูรณาการพื้นที่ อ.โขงเจียม จ.อุบลราชธานี
title_fullStr การสร้างสรรค์รูปแบบการท่องเที่ยวเชิงบูรณาการพื้นที่ อ.โขงเจียม จ.อุบลราชธานี
title_full_unstemmed การสร้างสรรค์รูปแบบการท่องเที่ยวเชิงบูรณาการพื้นที่ อ.โขงเจียม จ.อุบลราชธานี
title_sort การสร้างสรรค์รูปแบบการท่องเที่ยวเชิงบูรณาการพื้นที่ อ.โขงเจียม จ.อุบลราชธานี
publishDate 2011
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/48078
_version_ 1781413810005868544