อิทธิพลของความวิตกกังวล เจตคติ ความเชื่อ และความรู้เกี่ยวกับอาการต่อระยะเวลาการตัดสินใจมารับการรักษาในผู้ป่วยภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน

วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาอิทธิพลของความวิตกกังวล เจตคติ ความเชื่อ และความรู้เกี่ยวกับอาการต่อระยะเวลาการตัดสินใจมารับการรักษาในผู้ป่วยภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน รูปแบบการวิจัย: การศึกษาความสัมพันธ์เชิงทำนาย วิธีดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันที่เข้ารับการร...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ศศิธร โตมอญ, จงจิต เสน่หา, ศรินรัตน์ ศรีประสงค์, ฉัตรกนก ทุมวิภาต, Sasithorn Tomon, Chongjit Saneha, Sarinrut Sriprasong, Chatkanok Dumavibhat
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์
Format: Article
Language:Thai
Published: 2019
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/48248
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.48248
record_format dspace
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic ความวิตกกังวล
เจตคติ
ความเชื่อ
การตัดสินใจ
ความรู้
ระยะเวลาตั้งแต่เริ่มมีอาการจนถึงมารับการรักษา
anxiety
attitude
belief
decision making
time to treatment
knowledge
วารสารพยาบาลศาสตร์
Journal of Nursing Science
Nursing Science Journal of Thailand
spellingShingle ความวิตกกังวล
เจตคติ
ความเชื่อ
การตัดสินใจ
ความรู้
ระยะเวลาตั้งแต่เริ่มมีอาการจนถึงมารับการรักษา
anxiety
attitude
belief
decision making
time to treatment
knowledge
วารสารพยาบาลศาสตร์
Journal of Nursing Science
Nursing Science Journal of Thailand
ศศิธร โตมอญ
จงจิต เสน่หา
ศรินรัตน์ ศรีประสงค์
ฉัตรกนก ทุมวิภาต
Sasithorn Tomon
Chongjit Saneha
Sarinrut Sriprasong
Chatkanok Dumavibhat
อิทธิพลของความวิตกกังวล เจตคติ ความเชื่อ และความรู้เกี่ยวกับอาการต่อระยะเวลาการตัดสินใจมารับการรักษาในผู้ป่วยภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน
description วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาอิทธิพลของความวิตกกังวล เจตคติ ความเชื่อ และความรู้เกี่ยวกับอาการต่อระยะเวลาการตัดสินใจมารับการรักษาในผู้ป่วยภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน รูปแบบการวิจัย: การศึกษาความสัมพันธ์เชิงทำนาย วิธีดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันที่เข้ารับการรักษาโรงพยาบาลตติยภูมิ 2 แห่งในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล จำนวน 179 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล ข้อมูลภาวะสุขภาพ และระยะเวลาตั้งแต่เกิดอาการจนมาถึงโรงพยาบาล แบบวัดความวิตกกังวล และแบบประเมินดัชนีการตอบสนองต่อภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา และสถิติการวิเคราะห์ถดถอยโลจิสติคแบบขั้นตอนเดียว ผลการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างมีค่ามัธยฐานของระยะเวลาการตัดสินใจมารับการรักษาเท่ากับ 66 นาที โดยความวิตกกังวล เจตคติ ความเชื่อ และความรู้เกี่ยวกับอาการสามารถร่วมกันอธิบายความแปรปรวนของระยะเวลาการตัดสินใจมารับการรักษาในผู้ป่วยภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันได้ร้อยละ 38.7 โดยปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อระยะเวลาการตัดสินใจมารับการรักษา ได้แก่ ความรู้เกี่ยวกับอาการในระดับสูงมาก (OR = 26.26, 95%CI = 2.60, 264.97) ความเชื่อเกี่ยวกับอาการที่เหมาะสม (OR = 4.97, 95%CI = 1.09, 22.72) เจตคติเกี่ยวกับอาการที่เหมาะสม (OR = 2.42, 96%CI = 1.05, 5.59) และความวิตกกังวลในระดับต่ำ (OR = .12, 95%CI = .03, .47) สรุปและข้อเสนอแนะ: ปัจจัยดังกล่าวทั้งหมดมีอิทธิพลต่อระยะเวลาการตัดสินใจมารับการรักษา ดังนั้นพยาบาลควรให้ความรู้เกี่ยวกับอาการของภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันแก่ผู้ป่วย และกลุ่มเสี่ยง โดยเน้นทั้งอาการที่เฉพาะเจาะจง ไม่เฉพาะเจาะจง และอาการร่วมของภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน พร้อมทั้งส่งเสริมเจตคติ และความเชื่อเกี่ยวกับอาการที่เหมาะสม เพื่อจะส่งเสริมให้ผู้ป่วยตัดสินใจมารับการรักษาที่เร็วยิ่งขึ้น
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์
ศศิธร โตมอญ
จงจิต เสน่หา
ศรินรัตน์ ศรีประสงค์
ฉัตรกนก ทุมวิภาต
Sasithorn Tomon
Chongjit Saneha
Sarinrut Sriprasong
Chatkanok Dumavibhat
format Article
author ศศิธร โตมอญ
จงจิต เสน่หา
ศรินรัตน์ ศรีประสงค์
ฉัตรกนก ทุมวิภาต
Sasithorn Tomon
Chongjit Saneha
Sarinrut Sriprasong
Chatkanok Dumavibhat
author_sort ศศิธร โตมอญ
title อิทธิพลของความวิตกกังวล เจตคติ ความเชื่อ และความรู้เกี่ยวกับอาการต่อระยะเวลาการตัดสินใจมารับการรักษาในผู้ป่วยภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน
title_short อิทธิพลของความวิตกกังวล เจตคติ ความเชื่อ และความรู้เกี่ยวกับอาการต่อระยะเวลาการตัดสินใจมารับการรักษาในผู้ป่วยภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน
title_full อิทธิพลของความวิตกกังวล เจตคติ ความเชื่อ และความรู้เกี่ยวกับอาการต่อระยะเวลาการตัดสินใจมารับการรักษาในผู้ป่วยภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน
title_fullStr อิทธิพลของความวิตกกังวล เจตคติ ความเชื่อ และความรู้เกี่ยวกับอาการต่อระยะเวลาการตัดสินใจมารับการรักษาในผู้ป่วยภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน
title_full_unstemmed อิทธิพลของความวิตกกังวล เจตคติ ความเชื่อ และความรู้เกี่ยวกับอาการต่อระยะเวลาการตัดสินใจมารับการรักษาในผู้ป่วยภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน
title_sort อิทธิพลของความวิตกกังวล เจตคติ ความเชื่อ และความรู้เกี่ยวกับอาการต่อระยะเวลาการตัดสินใจมารับการรักษาในผู้ป่วยภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน
publishDate 2019
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/48248
_version_ 1764209730964684800
spelling th-mahidol.482482023-03-31T09:59:27Z อิทธิพลของความวิตกกังวล เจตคติ ความเชื่อ และความรู้เกี่ยวกับอาการต่อระยะเวลาการตัดสินใจมารับการรักษาในผู้ป่วยภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน The Influences of Anxiety, Attitudes, Beliefs, and Knowledge about Symptoms on Decision-Making Time in Seeking Treatment in Patients with Acute Coronary Syndrome ศศิธร โตมอญ จงจิต เสน่หา ศรินรัตน์ ศรีประสงค์ ฉัตรกนก ทุมวิภาต Sasithorn Tomon Chongjit Saneha Sarinrut Sriprasong Chatkanok Dumavibhat มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาการพยาบาลอายุรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ความวิตกกังวล เจตคติ ความเชื่อ การตัดสินใจ ความรู้ ระยะเวลาตั้งแต่เริ่มมีอาการจนถึงมารับการรักษา anxiety attitude belief decision making time to treatment knowledge วารสารพยาบาลศาสตร์ Journal of Nursing Science Nursing Science Journal of Thailand วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาอิทธิพลของความวิตกกังวล เจตคติ ความเชื่อ และความรู้เกี่ยวกับอาการต่อระยะเวลาการตัดสินใจมารับการรักษาในผู้ป่วยภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน รูปแบบการวิจัย: การศึกษาความสัมพันธ์เชิงทำนาย วิธีดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันที่เข้ารับการรักษาโรงพยาบาลตติยภูมิ 2 แห่งในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล จำนวน 179 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล ข้อมูลภาวะสุขภาพ และระยะเวลาตั้งแต่เกิดอาการจนมาถึงโรงพยาบาล แบบวัดความวิตกกังวล และแบบประเมินดัชนีการตอบสนองต่อภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา และสถิติการวิเคราะห์ถดถอยโลจิสติคแบบขั้นตอนเดียว ผลการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างมีค่ามัธยฐานของระยะเวลาการตัดสินใจมารับการรักษาเท่ากับ 66 นาที โดยความวิตกกังวล เจตคติ ความเชื่อ และความรู้เกี่ยวกับอาการสามารถร่วมกันอธิบายความแปรปรวนของระยะเวลาการตัดสินใจมารับการรักษาในผู้ป่วยภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันได้ร้อยละ 38.7 โดยปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อระยะเวลาการตัดสินใจมารับการรักษา ได้แก่ ความรู้เกี่ยวกับอาการในระดับสูงมาก (OR = 26.26, 95%CI = 2.60, 264.97) ความเชื่อเกี่ยวกับอาการที่เหมาะสม (OR = 4.97, 95%CI = 1.09, 22.72) เจตคติเกี่ยวกับอาการที่เหมาะสม (OR = 2.42, 96%CI = 1.05, 5.59) และความวิตกกังวลในระดับต่ำ (OR = .12, 95%CI = .03, .47) สรุปและข้อเสนอแนะ: ปัจจัยดังกล่าวทั้งหมดมีอิทธิพลต่อระยะเวลาการตัดสินใจมารับการรักษา ดังนั้นพยาบาลควรให้ความรู้เกี่ยวกับอาการของภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันแก่ผู้ป่วย และกลุ่มเสี่ยง โดยเน้นทั้งอาการที่เฉพาะเจาะจง ไม่เฉพาะเจาะจง และอาการร่วมของภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน พร้อมทั้งส่งเสริมเจตคติ และความเชื่อเกี่ยวกับอาการที่เหมาะสม เพื่อจะส่งเสริมให้ผู้ป่วยตัดสินใจมารับการรักษาที่เร็วยิ่งขึ้น Purpose: This study aimed to study the influences of anxiety, attitudes, beliefs and knowledge about symptoms on decision-making time in seeking treatment in patients with acute coronary syndrome (ACS). Design: Predictive correlation research design. Methods: The study samples included 179 patients with ACS who received treatment at two tertiary hospitals in Bangkok metropolitan area. Data were collected using questionnaires on demographic, health status, pre-hospital time, Visual Analogue Scale of Anxiety and Acute Coronary Syndrome Response Index. Data were analyzed using descriptive statistics and logistic regression analysis. Main findings: Median decision-making time in seeking treatment of patients with ACS was 66 minutes from onset. Anxiety, attitudes, beliefs, and knowledge about symptoms were 38.7% accounted for the variance in decision-making time in seeking treatment. Very high knowledge about symptoms (OR = 26.26, 95%CI = 2.60, 264.97), appropriated beliefs about symptoms (OR = 4.97, 95%CI = 1.09, 22.72), appropriated attitudes about symptoms (OR = 2.42, 95%CI = 1.05, 5.59), and low anxiety (OR = .12, 95%CI = .03, .47) were statistically significant predictors of decision-making time in seeking treatment. Conclusion and recommendations: All variables influence decision-making time in seeking treatment. Hence, nurses should advise typical, atypical, and related symptoms of ACS to patients and people who are at risks for ACS in order to improve their knowledge, appropriated attitudes and beliefs about symptoms. Therefore, these will promote rapid decision-making time in seeking treatment of patients with ACS. 2019-11-29T04:06:13Z 2019-11-29T04:06:13Z 2562-11-29 2562 Article วารสารพยาบาลศาสตร์. ปีที่ 37, ฉบับที่ 2 (เม.ย. - มิ.ย. 2562), 60-77 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/48248 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf