ความสัมพันธ์ระหว่างอายุ การรับรู้ประโยชน์ของการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพ การรับรู้อุปสรรคของการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพกับการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองชนิดตีบตัน
การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาแบบบรรยาย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ ระหว่างอายุ การรับรู้ประโยชน์ และการรับรู้อุปสรรคของการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพกับการ ปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองชนิดตีบตัน โดยใช้ทฤษฎีความเชื่อด้าน สุขภาพเป็นกรอบแนวคิดในการศึกษา กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยโร...
Saved in:
Main Authors: | , , , , , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Article |
Language: | Thai |
Published: |
2019
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/48302 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | Thai |
id |
th-mahidol.48302 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-mahidol.483022023-03-30T18:05:06Z ความสัมพันธ์ระหว่างอายุ การรับรู้ประโยชน์ของการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพ การรับรู้อุปสรรคของการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพกับการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองชนิดตีบตัน Relationships among Age, Perceived Benefits of Health Behaviors, Perceived Barriers of Health Behaviors and Health Behaviors in Patients with Ischemic Stroke นิรัชรา จ้อยชู วันเพ็ญ ภิญโญภาสกุล วิชชุดา เจริญกิจการ Niratchara Joychoo Wanpen Pinyopasakul Vishuda Chareonkitkarn มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์ อายุ การรับรู้ประโยชน์ การรับรู้อุปสรรค พฤติกรรมสุขภาพ โรคหลอดเลือดสมองชนิดตีบตัน Age Ischemic stroke Perceived benefits of health behaviors Perceived barriers of health behaviors Health behaviors การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาแบบบรรยาย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ ระหว่างอายุ การรับรู้ประโยชน์ และการรับรู้อุปสรรคของการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพกับการ ปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองชนิดตีบตัน โดยใช้ทฤษฎีความเชื่อด้าน สุขภาพเป็นกรอบแนวคิดในการศึกษา กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองชนิดตีบตัน ที่เข้ารับการรักษาที่คลินิคตรวจโรคระบบประสาททางอายุรกรรม โรงพยาบาลตติยภูมิ 2 แห่ง ในสังกัดกระทรวงกลาโหม กรุงเทพมหานคร จำนวน 88 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวม ข้อมูล ประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามการรับรู้ประโยชน์ของการปฏิบัติ พฤติกรรมสุขภาพ แบบสอบถามการรับรู้อุปสรรคของการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพ และ แบบสอบถามการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองชนิดตีบตัน วิเคราะห์ ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และการวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการ วิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีอายุเฉลี่ย 63.91 ปี ร้อยละ 72.7 เป็นเพศชาย และร้อยละ 61.3 มีค่า ดัชนีมวลกายมากกว่าระดับมาตรฐาน อายุและการรับรู้ประโยชน์มีความสัมพันธ์ทางบวกกับการ ปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองชนิดตีบตันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และ การรับรู้อุปสรรคมีความสัมพันธ์ทางลบกับการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ผลการวิจัยครั้งนี้สามารถนำไปเป็นข้อมูลพื้นฐาน ในการพัฒนาโปรแกรมการส่งเสริมการปฏิบัติ พฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองต่อไป This descriptive study aimed to determine the relationships between age, perceived benefits of health behaviors, perceived barriers of health behaviors and health behaviors in patients with ischemic stroke. The Health Belief Model was employed as a conceptual framework of the study. The study sample consisted of 88 patients with ischemic stroke who attended neurological clinics at 2 tertiary hospitals under the Ministry of Defense in Bangkok. The research instruments included Demographic, Perceived Benefits of Health Behaviors, Perceived Barriers of Health Behaviors and Health Behaviors in Patients with Ischemic Stroke Questionnaires. Data were analyzed by using descriptive statistics and the Pearson’s product moment correlation coefficient. The findings showed that the sample group’s average age was 63.91 years old, of which 72.7 % were males, and 61.3 % had a body mass index over the standard level. Age and perceived benefits of health behaviors were positively related to health behaviors in patients with ischemic stroke with statistical significance. Perceived barriers of health behaviors were negatively related to health behaviors with statistical significance. The results of this study can be used as background information for conducting a program to promote health behaviors of patients with stroke. 2019-12-04T07:57:43Z 2019-12-04T07:57:43Z 2562-12-04 2557 Research Article รามาธิบดีพยาบาลสาร. ปีที่ 20, ฉบับที่ 2 (พ.ค.-ส.ค. 2557), 236-248 0858-9739 (Print) 2672-9784 (Online) https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/48302 tha มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์ application/pdf |
institution |
Mahidol University |
building |
Mahidol University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Mahidol University Library |
collection |
Mahidol University Institutional Repository |
language |
Thai |
topic |
อายุ การรับรู้ประโยชน์ การรับรู้อุปสรรค พฤติกรรมสุขภาพ โรคหลอดเลือดสมองชนิดตีบตัน Age Ischemic stroke Perceived benefits of health behaviors Perceived barriers of health behaviors Health behaviors |
spellingShingle |
อายุ การรับรู้ประโยชน์ การรับรู้อุปสรรค พฤติกรรมสุขภาพ โรคหลอดเลือดสมองชนิดตีบตัน Age Ischemic stroke Perceived benefits of health behaviors Perceived barriers of health behaviors Health behaviors นิรัชรา จ้อยชู วันเพ็ญ ภิญโญภาสกุล วิชชุดา เจริญกิจการ Niratchara Joychoo Wanpen Pinyopasakul Vishuda Chareonkitkarn ความสัมพันธ์ระหว่างอายุ การรับรู้ประโยชน์ของการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพ การรับรู้อุปสรรคของการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพกับการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองชนิดตีบตัน |
description |
การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาแบบบรรยาย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์
ระหว่างอายุ การรับรู้ประโยชน์ และการรับรู้อุปสรรคของการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพกับการ
ปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองชนิดตีบตัน โดยใช้ทฤษฎีความเชื่อด้าน
สุขภาพเป็นกรอบแนวคิดในการศึกษา กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองชนิดตีบตัน
ที่เข้ารับการรักษาที่คลินิคตรวจโรคระบบประสาททางอายุรกรรม โรงพยาบาลตติยภูมิ 2 แห่ง
ในสังกัดกระทรวงกลาโหม กรุงเทพมหานคร จำนวน 88 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวม
ข้อมูล ประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามการรับรู้ประโยชน์ของการปฏิบัติ
พฤติกรรมสุขภาพ แบบสอบถามการรับรู้อุปสรรคของการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพ และ
แบบสอบถามการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองชนิดตีบตัน วิเคราะห์
ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และการวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการ
วิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีอายุเฉลี่ย 63.91 ปี ร้อยละ 72.7 เป็นเพศชาย และร้อยละ 61.3 มีค่า
ดัชนีมวลกายมากกว่าระดับมาตรฐาน อายุและการรับรู้ประโยชน์มีความสัมพันธ์ทางบวกกับการ
ปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองชนิดตีบตันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และ
การรับรู้อุปสรรคมีความสัมพันธ์ทางลบกับการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
ผลการวิจัยครั้งนี้สามารถนำไปเป็นข้อมูลพื้นฐาน ในการพัฒนาโปรแกรมการส่งเสริมการปฏิบัติ
พฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองต่อไป |
author2 |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์ |
author_facet |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์ นิรัชรา จ้อยชู วันเพ็ญ ภิญโญภาสกุล วิชชุดา เจริญกิจการ Niratchara Joychoo Wanpen Pinyopasakul Vishuda Chareonkitkarn |
format |
Article |
author |
นิรัชรา จ้อยชู วันเพ็ญ ภิญโญภาสกุล วิชชุดา เจริญกิจการ Niratchara Joychoo Wanpen Pinyopasakul Vishuda Chareonkitkarn |
author_sort |
นิรัชรา จ้อยชู |
title |
ความสัมพันธ์ระหว่างอายุ การรับรู้ประโยชน์ของการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพ การรับรู้อุปสรรคของการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพกับการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองชนิดตีบตัน |
title_short |
ความสัมพันธ์ระหว่างอายุ การรับรู้ประโยชน์ของการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพ การรับรู้อุปสรรคของการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพกับการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองชนิดตีบตัน |
title_full |
ความสัมพันธ์ระหว่างอายุ การรับรู้ประโยชน์ของการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพ การรับรู้อุปสรรคของการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพกับการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองชนิดตีบตัน |
title_fullStr |
ความสัมพันธ์ระหว่างอายุ การรับรู้ประโยชน์ของการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพ การรับรู้อุปสรรคของการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพกับการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองชนิดตีบตัน |
title_full_unstemmed |
ความสัมพันธ์ระหว่างอายุ การรับรู้ประโยชน์ของการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพ การรับรู้อุปสรรคของการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพกับการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองชนิดตีบตัน |
title_sort |
ความสัมพันธ์ระหว่างอายุ การรับรู้ประโยชน์ของการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพ การรับรู้อุปสรรคของการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพกับการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองชนิดตีบตัน |
publishDate |
2019 |
url |
https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/48302 |
_version_ |
1763496568253579264 |