ปริมาณมวลชีวภาพเหนือพื้นดิน ในราก และคาร์บอนในดิน ของสวนป่าไม้สัก

การศึกษามวลชีวภาพเหนือพื้นดินและมวลชีวภาพในรากของไม้สัก ในพื้นที่สวนป่าของไม้อัดไทย มีวัตถุประสงค์เพื่อต้องการศึกษามวลชีวภาพเหนือพื้นดิน ในรากของไม้สัก และคาร์บอนในดินของสวนป่าไม้สัก ใน 5 ช่วง อายุคือ อายุ 10, 14, 18, 27 และ 28 ปี ตามลำดับ การศึกษาได้ใช้สมการอโรแมติคในการคำนวนปริมาณมวลชีวภาพเหนือพื้...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: นาฏสุดา ภูมิจำนงค์, Nathsuda Pumijumnong
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์
Format: Article
Language:Thai
Published: 2011
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/48330
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.48330
record_format dspace
spelling th-mahidol.483302023-04-12T15:35:42Z ปริมาณมวลชีวภาพเหนือพื้นดิน ในราก และคาร์บอนในดิน ของสวนป่าไม้สัก Aboveground - Root biomass and soil carbon content of teak plantation นาฏสุดา ภูมิจำนงค์ Nathsuda Pumijumnong มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ คาร์บอนในดิน ไม้สัก มวลชีวภาพเหนือพื้นดินและราก การศึกษามวลชีวภาพเหนือพื้นดินและมวลชีวภาพในรากของไม้สัก ในพื้นที่สวนป่าของไม้อัดไทย มีวัตถุประสงค์เพื่อต้องการศึกษามวลชีวภาพเหนือพื้นดิน ในรากของไม้สัก และคาร์บอนในดินของสวนป่าไม้สัก ใน 5 ช่วง อายุคือ อายุ 10, 14, 18, 27 และ 28 ปี ตามลำดับ การศึกษาได้ใช้สมการอโรแมติคในการคำนวนปริมาณมวลชีวภาพเหนือพื้นดิน สาหรับในรากได้ทาการขุดตัวอย่างรากตามชั้นอายุ อายุละ 1 ต้น เพื่อมาคำนวณหามวลชีวภาพของรากและการคำนวณคาร์บอนในดิน มวลชีวภาพทั้งเหนือพื้นดินและในรากได้เปลี่ยนเป็นปริมาณคาร์บอน ผลการศึกษาพบว่า ปริมาณคาร์บอนรวมของสวนป่าไม้สักแต่ละชั้นอายุซึ่งประกอบด้วย ชั้นอายุ 10, 14, 18, 27 และ 28 ปี คาร์บอนรวมเท่ากับ 169.37, 83.72, 99.11, 170.13, 149.66 ตัน/แฮกแตร์ ตามลาดับ สัดส่วนของคาร์บอนในต้นสักและราก ตามชั้นอายุ 10, 14, 18, 27 และ 28 เท่ากับ 31:1, 7:1, 12:1, 33:1 และ 27:1 ตามลำดับ ความผันแปรของคาร์บอนเหนือพื้นดิน ในราก และในดินผันแปรไป เนื่องจากปัจจัยหลายอย่าง เช่น สภาพภูมิประเทศ การจัดการสวนป่าโดยเฉพาะอย่างยิ่งไฟ. A study about above ground and below ground biomass of teak plantation in various ages was conducted at Thai Plywood Company, Uthai Thani province. The study aims to examine above ground biomass, root biomass and soil carbon content in 5 teak ages: 10, 14, 18, 27 and 28 years old. Allometric relation equation was applied to calculate the above ground biomass. Each teak root of all ages was digged, dried and then calculated for root biomass. Soil organic carbon was quantified at each teak age from different soil depth. Biomass was converted to carbon content by determine 0.5. Results showed that total carbon content of each teak plantation, 10, 14, 18, 27 and 28 years old are 169.37, 83.72, 99.11, 170.13, 149.66 Ct/ha-1. The ratio of carbon content of shoot to root from each teak plantation 10, 14, 18, 27 and 28 years old are 31:1, 7:1, 12:1, 33:1 and 27:1 respectively. The variation of carbon content of above ground and below ground depend on many factors such as topography and plantation management, especially fire. 2011-05-25T07:52:08Z 2019-12-09T03:45:41Z 2011-05-25T07:52:08Z 2019-12-09T03:45:41Z 2011-05-25 2007-12 Article Environment and Natural Resources Journal. Vol. 5, No.2 (Dec 2007),109-121 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/48330 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic คาร์บอนในดิน
ไม้สัก
มวลชีวภาพเหนือพื้นดินและราก
spellingShingle คาร์บอนในดิน
ไม้สัก
มวลชีวภาพเหนือพื้นดินและราก
นาฏสุดา ภูมิจำนงค์
Nathsuda Pumijumnong
ปริมาณมวลชีวภาพเหนือพื้นดิน ในราก และคาร์บอนในดิน ของสวนป่าไม้สัก
description การศึกษามวลชีวภาพเหนือพื้นดินและมวลชีวภาพในรากของไม้สัก ในพื้นที่สวนป่าของไม้อัดไทย มีวัตถุประสงค์เพื่อต้องการศึกษามวลชีวภาพเหนือพื้นดิน ในรากของไม้สัก และคาร์บอนในดินของสวนป่าไม้สัก ใน 5 ช่วง อายุคือ อายุ 10, 14, 18, 27 และ 28 ปี ตามลำดับ การศึกษาได้ใช้สมการอโรแมติคในการคำนวนปริมาณมวลชีวภาพเหนือพื้นดิน สาหรับในรากได้ทาการขุดตัวอย่างรากตามชั้นอายุ อายุละ 1 ต้น เพื่อมาคำนวณหามวลชีวภาพของรากและการคำนวณคาร์บอนในดิน มวลชีวภาพทั้งเหนือพื้นดินและในรากได้เปลี่ยนเป็นปริมาณคาร์บอน ผลการศึกษาพบว่า ปริมาณคาร์บอนรวมของสวนป่าไม้สักแต่ละชั้นอายุซึ่งประกอบด้วย ชั้นอายุ 10, 14, 18, 27 และ 28 ปี คาร์บอนรวมเท่ากับ 169.37, 83.72, 99.11, 170.13, 149.66 ตัน/แฮกแตร์ ตามลาดับ สัดส่วนของคาร์บอนในต้นสักและราก ตามชั้นอายุ 10, 14, 18, 27 และ 28 เท่ากับ 31:1, 7:1, 12:1, 33:1 และ 27:1 ตามลำดับ ความผันแปรของคาร์บอนเหนือพื้นดิน ในราก และในดินผันแปรไป เนื่องจากปัจจัยหลายอย่าง เช่น สภาพภูมิประเทศ การจัดการสวนป่าโดยเฉพาะอย่างยิ่งไฟ.
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์
นาฏสุดา ภูมิจำนงค์
Nathsuda Pumijumnong
format Article
author นาฏสุดา ภูมิจำนงค์
Nathsuda Pumijumnong
author_sort นาฏสุดา ภูมิจำนงค์
title ปริมาณมวลชีวภาพเหนือพื้นดิน ในราก และคาร์บอนในดิน ของสวนป่าไม้สัก
title_short ปริมาณมวลชีวภาพเหนือพื้นดิน ในราก และคาร์บอนในดิน ของสวนป่าไม้สัก
title_full ปริมาณมวลชีวภาพเหนือพื้นดิน ในราก และคาร์บอนในดิน ของสวนป่าไม้สัก
title_fullStr ปริมาณมวลชีวภาพเหนือพื้นดิน ในราก และคาร์บอนในดิน ของสวนป่าไม้สัก
title_full_unstemmed ปริมาณมวลชีวภาพเหนือพื้นดิน ในราก และคาร์บอนในดิน ของสวนป่าไม้สัก
title_sort ปริมาณมวลชีวภาพเหนือพื้นดิน ในราก และคาร์บอนในดิน ของสวนป่าไม้สัก
publishDate 2011
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/48330
_version_ 1781416344739119104