การประเมินผลลัพธ์ระบบการบริการโดยทีมสหสาขาวิชาชีพในคลินิกหัวใจล้มเหลว โรงพยาบาลรามาธิบดี

การวิจัยเชิงบรรยายนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลลัพธ์ระบบการบริการโดยทีมสหสาขา วิชาชีพ พฤติกรรมการดูแลตนเอง และความคิดเห็นของผู้ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวต่อการรับบริการในคลินิก หัวใจล้มเหลว โรงพยาบาลรามาธิบดี ใช้กรอบแนวคิดคุณภาพการบริการของโดนาบิเดียน เลือกกลุ่ม ตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง ได้กลุ่มตัวอย่าง...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ไวยพร พรมวงค์, อภิญญา ศิริพิทยาคุณกิจ, ขนิตฐา หาญประสิทธิ์คำ, Waiyaporn Promwong, Apinya Siripitayakunkit, Kanitha Hanprasitkam
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี
Format: Article
Language:Thai
Published: 2019
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/48362
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.48362
record_format dspace
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic ผลลัพธ์ทางคลินิก
ระบบการบริการ
พฤติกรรมการดูแลตนเอง
สหสาขาวิชาชีพ
คลินิกหัวใจล้มเหลว
Clinical outcomes
Health care services
Self-care behaviors
Multidisciplinary care model
Heart failure clinic
spellingShingle ผลลัพธ์ทางคลินิก
ระบบการบริการ
พฤติกรรมการดูแลตนเอง
สหสาขาวิชาชีพ
คลินิกหัวใจล้มเหลว
Clinical outcomes
Health care services
Self-care behaviors
Multidisciplinary care model
Heart failure clinic
ไวยพร พรมวงค์
อภิญญา ศิริพิทยาคุณกิจ
ขนิตฐา หาญประสิทธิ์คำ
Waiyaporn Promwong
Apinya Siripitayakunkit
Kanitha Hanprasitkam
การประเมินผลลัพธ์ระบบการบริการโดยทีมสหสาขาวิชาชีพในคลินิกหัวใจล้มเหลว โรงพยาบาลรามาธิบดี
description การวิจัยเชิงบรรยายนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลลัพธ์ระบบการบริการโดยทีมสหสาขา วิชาชีพ พฤติกรรมการดูแลตนเอง และความคิดเห็นของผู้ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวต่อการรับบริการในคลินิก หัวใจล้มเหลว โรงพยาบาลรามาธิบดี ใช้กรอบแนวคิดคุณภาพการบริการของโดนาบิเดียน เลือกกลุ่ม ตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 31 ราย รวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนกรกฎาคมถึงเดือน ตุลาคม พ.ศ. 2560 โดยใช้แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล ข้อมูลภาวะสุขภาพ แบบสอบถามกึ่งโครงสร้าง เกี่ยวกับพฤติกรรมการดูแลตนเอง และความคิดเห็นของผู้ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวต่อการให้บริการใน คลินิกหัวใจล้มเหลว วิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติบรรยาย ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุระหว่าง 26-83 ปี มีภาวะหัวใจล้มเหลว Stage C ก่อนเข้ารักษาในคลินิกพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ เดินพื้นราบใน 6 นาที (6 MWT) ระยะทางน้อยกว่า 300 เมตร ค่าการบีบตัวของหัวใจห้องล่างซ้าย (LVEF) น้อยกว่าร้อยละ 40 และไม่สามารถทำงานได้ ก่อนเข้ารักษาในคลินิกหัวใจล้มเหลว กลุ่มตัวอย่าง ทุกรายเคยนอนรักษาตัวในโรงพยาบาลและเคยมาฉุกเฉินด้วยภาวะหัวใจล้มเหลว แต่หลังจากเข้ารักษา ในคลินิกฯ พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่สามารถเดินพื้นราบใน 6 นาที ระยะทางมากกว่า 300 เมตร และ ค่าการบีบตัวของหัวใจห้องล่างซ้ายเพิ่มขึ้น และไม่เคยมาฉุกเฉินด้วยภาวะหัวใจล้มเหลว แต่มารักษาซ้ำ ในโรงพยาบาลจำนวน 3 ราย ส่วนพฤติกรรมการดูแลตนเองพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่สามารถจัดการ ภาวะน้ำเกินได้ ออกกำลังกายทุกวันหรืออย่างน้อยสัปดาห์ละ 3-5 วัน และรับประทานยาสม่ำเสมอ ส่วนความคิดเห็นต่อคลินิกหัวใจล้มเหลว กลุ่มตัวอย่างทุกรายคิดว่าคลินิกนี้มีประโยชน์คือช่วยให้ผู้ป่วย สามารถปรับพฤติกรรมการดูแลตนเองได้ดีขึ้น เข้ารับบริการได้สะดวก สามารถขอคำปรึกษาได้หลายช่อง ทาง ทำให้ผลลัพธ์ทางคลินิกดีขึ้น ผลการวิจัยครั้งนี้ชี้ให้เห็นว่าควรนำรูปแบบการดูแลแบบสหสาขาวิชาชีพ ไปใช้ในการดูแลผู้ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวเพื่อให้เกิดผลลัพธ์การบริการที่ดี
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี
ไวยพร พรมวงค์
อภิญญา ศิริพิทยาคุณกิจ
ขนิตฐา หาญประสิทธิ์คำ
Waiyaporn Promwong
Apinya Siripitayakunkit
Kanitha Hanprasitkam
format Article
author ไวยพร พรมวงค์
อภิญญา ศิริพิทยาคุณกิจ
ขนิตฐา หาญประสิทธิ์คำ
Waiyaporn Promwong
Apinya Siripitayakunkit
Kanitha Hanprasitkam
author_sort ไวยพร พรมวงค์
title การประเมินผลลัพธ์ระบบการบริการโดยทีมสหสาขาวิชาชีพในคลินิกหัวใจล้มเหลว โรงพยาบาลรามาธิบดี
title_short การประเมินผลลัพธ์ระบบการบริการโดยทีมสหสาขาวิชาชีพในคลินิกหัวใจล้มเหลว โรงพยาบาลรามาธิบดี
title_full การประเมินผลลัพธ์ระบบการบริการโดยทีมสหสาขาวิชาชีพในคลินิกหัวใจล้มเหลว โรงพยาบาลรามาธิบดี
title_fullStr การประเมินผลลัพธ์ระบบการบริการโดยทีมสหสาขาวิชาชีพในคลินิกหัวใจล้มเหลว โรงพยาบาลรามาธิบดี
title_full_unstemmed การประเมินผลลัพธ์ระบบการบริการโดยทีมสหสาขาวิชาชีพในคลินิกหัวใจล้มเหลว โรงพยาบาลรามาธิบดี
title_sort การประเมินผลลัพธ์ระบบการบริการโดยทีมสหสาขาวิชาชีพในคลินิกหัวใจล้มเหลว โรงพยาบาลรามาธิบดี
publishDate 2019
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/48362
_version_ 1763494280986361856
spelling th-mahidol.483622023-03-31T09:01:50Z การประเมินผลลัพธ์ระบบการบริการโดยทีมสหสาขาวิชาชีพในคลินิกหัวใจล้มเหลว โรงพยาบาลรามาธิบดี Evaluation of Health Care Services Using a Multidisciplinary Care Model for Persons with Heart Failure at the Heart Failure Clinic, Ramathibodi Hospital ไวยพร พรมวงค์ อภิญญา ศิริพิทยาคุณกิจ ขนิตฐา หาญประสิทธิ์คำ Waiyaporn Promwong Apinya Siripitayakunkit Kanitha Hanprasitkam มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี ผลลัพธ์ทางคลินิก ระบบการบริการ พฤติกรรมการดูแลตนเอง สหสาขาวิชาชีพ คลินิกหัวใจล้มเหลว Clinical outcomes Health care services Self-care behaviors Multidisciplinary care model Heart failure clinic การวิจัยเชิงบรรยายนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลลัพธ์ระบบการบริการโดยทีมสหสาขา วิชาชีพ พฤติกรรมการดูแลตนเอง และความคิดเห็นของผู้ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวต่อการรับบริการในคลินิก หัวใจล้มเหลว โรงพยาบาลรามาธิบดี ใช้กรอบแนวคิดคุณภาพการบริการของโดนาบิเดียน เลือกกลุ่ม ตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 31 ราย รวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนกรกฎาคมถึงเดือน ตุลาคม พ.ศ. 2560 โดยใช้แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล ข้อมูลภาวะสุขภาพ แบบสอบถามกึ่งโครงสร้าง เกี่ยวกับพฤติกรรมการดูแลตนเอง และความคิดเห็นของผู้ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวต่อการให้บริการใน คลินิกหัวใจล้มเหลว วิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติบรรยาย ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุระหว่าง 26-83 ปี มีภาวะหัวใจล้มเหลว Stage C ก่อนเข้ารักษาในคลินิกพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ เดินพื้นราบใน 6 นาที (6 MWT) ระยะทางน้อยกว่า 300 เมตร ค่าการบีบตัวของหัวใจห้องล่างซ้าย (LVEF) น้อยกว่าร้อยละ 40 และไม่สามารถทำงานได้ ก่อนเข้ารักษาในคลินิกหัวใจล้มเหลว กลุ่มตัวอย่าง ทุกรายเคยนอนรักษาตัวในโรงพยาบาลและเคยมาฉุกเฉินด้วยภาวะหัวใจล้มเหลว แต่หลังจากเข้ารักษา ในคลินิกฯ พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่สามารถเดินพื้นราบใน 6 นาที ระยะทางมากกว่า 300 เมตร และ ค่าการบีบตัวของหัวใจห้องล่างซ้ายเพิ่มขึ้น และไม่เคยมาฉุกเฉินด้วยภาวะหัวใจล้มเหลว แต่มารักษาซ้ำ ในโรงพยาบาลจำนวน 3 ราย ส่วนพฤติกรรมการดูแลตนเองพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่สามารถจัดการ ภาวะน้ำเกินได้ ออกกำลังกายทุกวันหรืออย่างน้อยสัปดาห์ละ 3-5 วัน และรับประทานยาสม่ำเสมอ ส่วนความคิดเห็นต่อคลินิกหัวใจล้มเหลว กลุ่มตัวอย่างทุกรายคิดว่าคลินิกนี้มีประโยชน์คือช่วยให้ผู้ป่วย สามารถปรับพฤติกรรมการดูแลตนเองได้ดีขึ้น เข้ารับบริการได้สะดวก สามารถขอคำปรึกษาได้หลายช่อง ทาง ทำให้ผลลัพธ์ทางคลินิกดีขึ้น ผลการวิจัยครั้งนี้ชี้ให้เห็นว่าควรนำรูปแบบการดูแลแบบสหสาขาวิชาชีพ ไปใช้ในการดูแลผู้ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวเพื่อให้เกิดผลลัพธ์การบริการที่ดี This descriptive study aimed to evaluate outcomes of health care services, self-care behavior, and opinions of persons with heart failure (HF) receiving care at the HF clinics, Ramathibodi Hospital. Donabedian’s quality of care model was used as the conceptual framework to guide the study. Purposive sampling was used to recruit 31 persons with HF. Data were collected from July to October 2017, using a personal data questionnaire, a health status data questionnaire, a semi-structured questionnaire about self-care behaviors, and an opinion survey form of persons with HF on health care services provided at the heart failure clinic. Through descriptive statistics, data analysis revealed that a majority of the participants were male, with an age range between 26 and 83 years. Most participants had stage C of HF. Before enrolling in the HF Clinic, the health data indicated that most participants had a sixminute walk test (6-MWT) of less than 300 meters, left ventricular ejection fraction (LVEF) of less than 40%, and were unable to work. All participants had experienced in hospitalization or visiting an emergency room due to HF. However, after enrolling in the HF clinic, most participants had 6MWT of more than 300 meters and increased LVEF. None of the sample re-visited the emergency room, but three persons with HF were re-hospitalized. Regarding self-care behaviors, it was found that most participants were able to regulate volume overload, exercise daily or at least 3-5 days per week, and take medications regularly. Regarding the opinion toward services at the HF Clinic, all participants reported that the services are beneficial as they assisted them to adjust self-care behaviors. Also, the services could be easily accessed and the consultation could be made via multiple communication channels. All of these methods would facilitate favorable clinical outcomes. In brief, findings of the study point out that this multidisciplinary care model is beneficial and should be provided for persons with HF to achieve good service outcomes. 2019-12-12T02:11:17Z 2019-12-12T02:11:17Z 2562-12-12 2562 Research Article รามาธิบดีพยาบาลสาร. ปีที่ 25, ฉบับที่ 2 (พ.ค.-ส.ค. 2562), 166-180 0858-9739 (Print) 2672-9784 (Online) https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/48362 tha มหาวิทยาลัยมหิดล โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf