ผลของการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่องการให้ยาในเด็กต่อทักษะการให้ยาของนักศึกษาพยาบาล
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลองมีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วย สอน เรื่องการให้ยาในเด็กต่อทักษะการให้ยาของนักศึกษาพยาบาลกลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาพยาบาล ชั้นปีที่ 3 ของโรงเรียนพยาบาลรามาธิบดีคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดีมหาวิทยาลัยมหิดล คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง จำ...
Saved in:
Main Authors: | , , , , , , , , , , , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Article |
Language: | Thai |
Published: |
2019
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/48363 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | Thai |
id |
th-mahidol.48363 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Mahidol University |
building |
Mahidol University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Mahidol University Library |
collection |
Mahidol University Institutional Repository |
language |
Thai |
topic |
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน การให้ยาในเด็ก นักศึกษาพยาบาล Computer-assisted instruction Pediatric medication administration Nursing students |
spellingShingle |
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน การให้ยาในเด็ก นักศึกษาพยาบาล Computer-assisted instruction Pediatric medication administration Nursing students จิราภรณ์ ปั้นอยู่ สุธาสินี แซ่หุง ชื่นฤดี คงศักดิ์ตระกูล จงใจ จงอร่ามเรือง ทิพวัลย์ ศรีเฉลิม อารีย์ วงศ์แดง Jiraporn Punyoo Sutasinee Saehoong Chuanruedee Kongsaktrakul Jongjai Jongaramraung Tippawan Srichalerm Aree Wongdaeng ผลของการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่องการให้ยาในเด็กต่อทักษะการให้ยาของนักศึกษาพยาบาล |
description |
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลองมีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วย
สอน เรื่องการให้ยาในเด็กต่อทักษะการให้ยาของนักศึกษาพยาบาลกลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาพยาบาล
ชั้นปีที่ 3 ของโรงเรียนพยาบาลรามาธิบดีคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดีมหาวิทยาลัยมหิดล
คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง จำนวน 88 ราย กลุ่มควบคุมเป็นกลุ่มที่ได้รับการสอนแบบปกติ
จำนวน 42 ราย กลุ่มทดลองเป็นกลุ่มที่ได้รับการสอนแบบปกติร่วมกับบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
เรื่องการให้ยาในเด็ก จำนวน 46 รายเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบประเมิน
ทักษะการปฏิบัติการให้ยา และแบบประเมินความพึงพอใจ ประเมินทักษะการปฏิบัติการให้ยา 3 ครั้ง
ก่อนได้รับการสอนสัปดาห์ที่ 2 และสัปดาห์ที่ 6 ของการฝึกปฏิบัติวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา
และสถิติวิเคราะห์ความแปรปรวนสองทางแบบวัดซ้ำ ผลการวิจัยพบว่า คะแนนเฉลี่ยของทักษะปฏิบัติ
การให้ยาในเด็กระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมมีค่าแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกลุ่ม
ทดลองมีคะแนนเฉลี่ยมากกว่ากลุ่มควบคุม กลุ่มและช่วงเวลามีอิทธิพลเชิงปฏิสัมพันธ์ต่อค่าเฉลี่ยของ
ทักษะปฏิบัติการให้ยาในเด็กอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเมื่อเปรียบเทียบความแตกต่างคะแนนทักษะ
ปฏิบัติการให้ยาในเด็กในกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมโดย Bonferroni correction พบว่า กลุ่มทดลอง
มีทักษะปฏิบัติการให้ยาในเด็กเพิ่มขึ้นมากกว่ากลุ่มควบคุมหลังได้รับการสอนสัปดาห์ที่2 และสัปดาห์
ที่ 6 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิตินักศึกษากลุ่มทดลองมีความพึงพอใจมากต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์
ช่วยสอน ดังนั้น ในวิชาการฝึกปฏิบัติทางคลินิก จึงควรพิจารณานำบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเสริม
ร่วมกับการสอนแบบปกติในการเพิ่มทักษะการให้ยาผู้ป่วยเด็กของนักศึกษาพยาบาลต่อไป |
author2 |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี |
author_facet |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี จิราภรณ์ ปั้นอยู่ สุธาสินี แซ่หุง ชื่นฤดี คงศักดิ์ตระกูล จงใจ จงอร่ามเรือง ทิพวัลย์ ศรีเฉลิม อารีย์ วงศ์แดง Jiraporn Punyoo Sutasinee Saehoong Chuanruedee Kongsaktrakul Jongjai Jongaramraung Tippawan Srichalerm Aree Wongdaeng |
format |
Article |
author |
จิราภรณ์ ปั้นอยู่ สุธาสินี แซ่หุง ชื่นฤดี คงศักดิ์ตระกูล จงใจ จงอร่ามเรือง ทิพวัลย์ ศรีเฉลิม อารีย์ วงศ์แดง Jiraporn Punyoo Sutasinee Saehoong Chuanruedee Kongsaktrakul Jongjai Jongaramraung Tippawan Srichalerm Aree Wongdaeng |
author_sort |
จิราภรณ์ ปั้นอยู่ |
title |
ผลของการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่องการให้ยาในเด็กต่อทักษะการให้ยาของนักศึกษาพยาบาล |
title_short |
ผลของการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่องการให้ยาในเด็กต่อทักษะการให้ยาของนักศึกษาพยาบาล |
title_full |
ผลของการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่องการให้ยาในเด็กต่อทักษะการให้ยาของนักศึกษาพยาบาล |
title_fullStr |
ผลของการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่องการให้ยาในเด็กต่อทักษะการให้ยาของนักศึกษาพยาบาล |
title_full_unstemmed |
ผลของการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่องการให้ยาในเด็กต่อทักษะการให้ยาของนักศึกษาพยาบาล |
title_sort |
ผลของการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่องการให้ยาในเด็กต่อทักษะการให้ยาของนักศึกษาพยาบาล |
publishDate |
2019 |
url |
https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/48363 |
_version_ |
1763494461621403648 |
spelling |
th-mahidol.483632023-03-31T03:23:03Z ผลของการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่องการให้ยาในเด็กต่อทักษะการให้ยาของนักศึกษาพยาบาล The Effect of Computer-Assisted Instruction of Pediatric Medication Administration on Medication Administration Skills among Nursing Students จิราภรณ์ ปั้นอยู่ สุธาสินี แซ่หุง ชื่นฤดี คงศักดิ์ตระกูล จงใจ จงอร่ามเรือง ทิพวัลย์ ศรีเฉลิม อารีย์ วงศ์แดง Jiraporn Punyoo Sutasinee Saehoong Chuanruedee Kongsaktrakul Jongjai Jongaramraung Tippawan Srichalerm Aree Wongdaeng มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน การให้ยาในเด็ก นักศึกษาพยาบาล Computer-assisted instruction Pediatric medication administration Nursing students การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลองมีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วย สอน เรื่องการให้ยาในเด็กต่อทักษะการให้ยาของนักศึกษาพยาบาลกลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาพยาบาล ชั้นปีที่ 3 ของโรงเรียนพยาบาลรามาธิบดีคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดีมหาวิทยาลัยมหิดล คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง จำนวน 88 ราย กลุ่มควบคุมเป็นกลุ่มที่ได้รับการสอนแบบปกติ จำนวน 42 ราย กลุ่มทดลองเป็นกลุ่มที่ได้รับการสอนแบบปกติร่วมกับบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องการให้ยาในเด็ก จำนวน 46 รายเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบประเมิน ทักษะการปฏิบัติการให้ยา และแบบประเมินความพึงพอใจ ประเมินทักษะการปฏิบัติการให้ยา 3 ครั้ง ก่อนได้รับการสอนสัปดาห์ที่ 2 และสัปดาห์ที่ 6 ของการฝึกปฏิบัติวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และสถิติวิเคราะห์ความแปรปรวนสองทางแบบวัดซ้ำ ผลการวิจัยพบว่า คะแนนเฉลี่ยของทักษะปฏิบัติ การให้ยาในเด็กระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมมีค่าแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกลุ่ม ทดลองมีคะแนนเฉลี่ยมากกว่ากลุ่มควบคุม กลุ่มและช่วงเวลามีอิทธิพลเชิงปฏิสัมพันธ์ต่อค่าเฉลี่ยของ ทักษะปฏิบัติการให้ยาในเด็กอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเมื่อเปรียบเทียบความแตกต่างคะแนนทักษะ ปฏิบัติการให้ยาในเด็กในกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมโดย Bonferroni correction พบว่า กลุ่มทดลอง มีทักษะปฏิบัติการให้ยาในเด็กเพิ่มขึ้นมากกว่ากลุ่มควบคุมหลังได้รับการสอนสัปดาห์ที่2 และสัปดาห์ ที่ 6 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิตินักศึกษากลุ่มทดลองมีความพึงพอใจมากต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน ดังนั้น ในวิชาการฝึกปฏิบัติทางคลินิก จึงควรพิจารณานำบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเสริม ร่วมกับการสอนแบบปกติในการเพิ่มทักษะการให้ยาผู้ป่วยเด็กของนักศึกษาพยาบาลต่อไป This quasi-experimental research aimed to examine the effect of computer-assisted instruction of pediatric medication administration on medication administration skills among nursing students. Purposive sampling was used to recruit a sample of 88 third-year nursing students from Ramathibodi School of Nursing, Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital, Mahidol University. Forty-two students in the control group received the usual clinical teaching approach, whereas 46 students in the experimental group received the usual clinical teaching approach plus the computer assisted instruction of pediatric medication administration. Data collection instruments included the Demographic Data Questionnaire, the Medication Administration Skills Assessment Form, and the Student’s Satisfaction Questionnaire. The medication administration skills were measured three times: at baseline, Week 2, and Week 6 of nursing practice in the clinical course. Descriptive statistics and two way repeated measures ANOVAs were used to analyze data. The findings showed that the mean score of medication administration skills in the experimental group was significantly different from that of the control group. The experimental group had a higher mean score of medication administration skills than the control group. The interaction effect between intervention and time was significant. The post hoc test using the Bonferroni correction showed that the experimental group had a significantly higher score of medication administration skills than the control group after Week 2 and Week 6 of nursing practice in the clinical course. Also, the experimental group had a high satisfaction with the computer-assisted instruction of pediatric medication administration. Therefore, computer-assisted instruction should be considered to use in combination with usual clinical teaching approach for improving medication administration skills among nursing students. 2019-12-12T02:29:51Z 2019-12-12T02:29:51Z 2562-12-12 2562 Research Article รามาธิบดีพยาบาลสาร. ปีที่ 25, ฉบับที่ 2 (พ.ค.-ส.ค. 2562), 181-194 0858-9739 (Print) 2672-9784 (Online) https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/48363 tha มหาวิทยาลัยมหิดล โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf |