การพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาลในการจัดท่านอนเพื่อเพิ่มระดับความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือดของทารกเกิดก่อนกำหนดที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ

วัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้ เพื่อพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาลในการจัดท่านอน เพื่อเพิ่มระดับความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือดของทารกเกิดก่อนกำหนดที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ ด้วยการทบทวนอย่างเป็นระบบ และใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ซึ่งมีงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัด ท่านอน เพื่อเพิ่มระดับความอิ่มตัวของออกซิเจนใน...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: พรทิภา พุทธินันทโอภาส, เรณู พุกบุญมี, ทิพวัลย์ ดารามาศ, Porntipa Phuttinunta-opas, Renu Pookboonmee, Tipawan Daramas
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี
Format: Review Article
Language:Thai
Published: 2019
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/48367
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.48367
record_format dspace
spelling th-mahidol.483672023-03-30T19:06:03Z การพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาลในการจัดท่านอนเพื่อเพิ่มระดับความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือดของทารกเกิดก่อนกำหนดที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ The Development of Clinical Nursing Practice Guideline for Positioning to Increase Oxygen Saturation Level in Premature Infants with Mechanical Ventilator พรทิภา พุทธินันทโอภาส เรณู พุกบุญมี ทิพวัลย์ ดารามาศ Porntipa Phuttinunta-opas Renu Pookboonmee Tipawan Daramas มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี แนวปฏิบัติการพยาบาลทางคลินิก การจัดท่านอน ระดับความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือด ทารกเกิดก่อนกำหนด เครื่องช่วยหายใจ Clinical nursing practice guideline Positioning Oxygen saturation level Premature infants Mechanical ventilator วัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้ เพื่อพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาลในการจัดท่านอน เพื่อเพิ่มระดับความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือดของทารกเกิดก่อนกำหนดที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ ด้วยการทบทวนอย่างเป็นระบบ และใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ซึ่งมีงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัด ท่านอน เพื่อเพิ่มระดับความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือดของทารกเกิดก่อนกำหนดที่ใช้เครื่องช่วย หายใจทั้งหมด 12 เรื่อง แนวปฏิบัติการพยาบาลที่พัฒนาขึ้นนี้ ได้รับการตรวจสอบจากผู้ทรง คุณวุฒิ 5 ท่าน ซึ่งมีความเชี่ยวชาญในการดูแลทารกเกิดก่อนกำหนด โดยตรวจสอบในเรื่อง ความถูกต้องของเนื้อหา ความตรงกับปัญหาทางคลินิกที่ต้องการแก้ไข ความน่าเชื่อถือและ ความเป็นไปได้ที่จะนำไปใช้ในการปฏิบัติแนวปฏิบัติการพยาบาลที่สร้างขึ้นนี้จะช่วยให้พยาบาล สามารถจัดท่านอน เพื่อเพิ่มระดับความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือดของทารกเกิดก่อนกำหนด ที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ ซึ่งเป็นการเพิ่มพูนคุณภาพการดูแลทารกเกิดก่อนกำหนด แนวปฏิบัติการ พยาบาลทางคลินิกนี้ประกอบด้วย 1) การจัดท่านอนระยะใช้เครื่องช่วยหายใจ 2) การจัดท่านอน ระยะหลังถอดท่อช่วยหายใจ และ 3) การจัดท่านอนระยะใกล้กลับบ้าน การศึกษาครั้งนี้มี ข้อเสนอแนะว่า ควรนำแนวปฏิบัติการพยาบาลทางคลินิกนี้ไปทดลองใช้ในหน่วยงาน โดยมีการ ประเมินและติดตามผล ตลอดจนปรับปรุงแนวปฏิบัติการพยาบาลทางคลินิกให้เหมาะสมต่อไป The purpose of this study was to develop clinical nursing practice guideline for positioning to increase oxygen saturation level in premature infants with mechanical ventilator using evidence-based research. Twelve academic research publications were reviewed to positioning to increase oxygen saturation level in premature infants with mechanical ventilator. Five experts in the fields of neonatology and neonatal nursing validated the guidelines for accuracy in content, clinical relevance, scientific merits, and potential for use in clinical practice. The guidelines can help nurses to develop their knowledge and increase their confidence to efficiently provide standard nursing care for premature infants with positioning to increase oxygen saturation level in premature infants with mechanical ventilator. The guideline consists of the following steps: 1) positioning in mechanical ventilator phase, 2) positioning in post extubation phase, and 3) positioning in pre-discharge phase. It is recommended that this guideline should be tested within the neonatal unit, and outcomes should be evaluated, including continuous quality improvement. 2019-12-12T03:54:08Z 2019-12-12T03:54:08Z 2562-12-12 2562 Review Article รามาธิบดีพยาบาลสาร. ปีที่ 19, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-เม.ย. 2556), 1-15 0858-9739 (Print) 2672-9784 (Online) https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/48367 tha มหาวิทยาลัยมหิดล โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic แนวปฏิบัติการพยาบาลทางคลินิก
การจัดท่านอน
ระดับความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือด
ทารกเกิดก่อนกำหนด
เครื่องช่วยหายใจ
Clinical nursing practice guideline
Positioning
Oxygen saturation level
Premature infants
Mechanical ventilator
spellingShingle แนวปฏิบัติการพยาบาลทางคลินิก
การจัดท่านอน
ระดับความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือด
ทารกเกิดก่อนกำหนด
เครื่องช่วยหายใจ
Clinical nursing practice guideline
Positioning
Oxygen saturation level
Premature infants
Mechanical ventilator
พรทิภา พุทธินันทโอภาส
เรณู พุกบุญมี
ทิพวัลย์ ดารามาศ
Porntipa Phuttinunta-opas
Renu Pookboonmee
Tipawan Daramas
การพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาลในการจัดท่านอนเพื่อเพิ่มระดับความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือดของทารกเกิดก่อนกำหนดที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
description วัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้ เพื่อพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาลในการจัดท่านอน เพื่อเพิ่มระดับความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือดของทารกเกิดก่อนกำหนดที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ ด้วยการทบทวนอย่างเป็นระบบ และใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ซึ่งมีงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัด ท่านอน เพื่อเพิ่มระดับความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือดของทารกเกิดก่อนกำหนดที่ใช้เครื่องช่วย หายใจทั้งหมด 12 เรื่อง แนวปฏิบัติการพยาบาลที่พัฒนาขึ้นนี้ ได้รับการตรวจสอบจากผู้ทรง คุณวุฒิ 5 ท่าน ซึ่งมีความเชี่ยวชาญในการดูแลทารกเกิดก่อนกำหนด โดยตรวจสอบในเรื่อง ความถูกต้องของเนื้อหา ความตรงกับปัญหาทางคลินิกที่ต้องการแก้ไข ความน่าเชื่อถือและ ความเป็นไปได้ที่จะนำไปใช้ในการปฏิบัติแนวปฏิบัติการพยาบาลที่สร้างขึ้นนี้จะช่วยให้พยาบาล สามารถจัดท่านอน เพื่อเพิ่มระดับความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือดของทารกเกิดก่อนกำหนด ที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ ซึ่งเป็นการเพิ่มพูนคุณภาพการดูแลทารกเกิดก่อนกำหนด แนวปฏิบัติการ พยาบาลทางคลินิกนี้ประกอบด้วย 1) การจัดท่านอนระยะใช้เครื่องช่วยหายใจ 2) การจัดท่านอน ระยะหลังถอดท่อช่วยหายใจ และ 3) การจัดท่านอนระยะใกล้กลับบ้าน การศึกษาครั้งนี้มี ข้อเสนอแนะว่า ควรนำแนวปฏิบัติการพยาบาลทางคลินิกนี้ไปทดลองใช้ในหน่วยงาน โดยมีการ ประเมินและติดตามผล ตลอดจนปรับปรุงแนวปฏิบัติการพยาบาลทางคลินิกให้เหมาะสมต่อไป
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี
พรทิภา พุทธินันทโอภาส
เรณู พุกบุญมี
ทิพวัลย์ ดารามาศ
Porntipa Phuttinunta-opas
Renu Pookboonmee
Tipawan Daramas
format Review Article
author พรทิภา พุทธินันทโอภาส
เรณู พุกบุญมี
ทิพวัลย์ ดารามาศ
Porntipa Phuttinunta-opas
Renu Pookboonmee
Tipawan Daramas
author_sort พรทิภา พุทธินันทโอภาส
title การพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาลในการจัดท่านอนเพื่อเพิ่มระดับความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือดของทารกเกิดก่อนกำหนดที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
title_short การพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาลในการจัดท่านอนเพื่อเพิ่มระดับความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือดของทารกเกิดก่อนกำหนดที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
title_full การพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาลในการจัดท่านอนเพื่อเพิ่มระดับความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือดของทารกเกิดก่อนกำหนดที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
title_fullStr การพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาลในการจัดท่านอนเพื่อเพิ่มระดับความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือดของทารกเกิดก่อนกำหนดที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
title_full_unstemmed การพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาลในการจัดท่านอนเพื่อเพิ่มระดับความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือดของทารกเกิดก่อนกำหนดที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
title_sort การพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาลในการจัดท่านอนเพื่อเพิ่มระดับความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือดของทารกเกิดก่อนกำหนดที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
publishDate 2019
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/48367
_version_ 1763496184100421632