การตรวจวัดพื้นที่เกิดไฟป่าด้วยช่วงคลื่นเทอร์มอลอินฟราเรดของภาพดาวเทียมแลนด์เซต : กรณีศึกษาอำเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี ประเทศไทย
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประยุกต์เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศในการหาพื้นที่การเกิดไฟป่าด้วยข้อมูลช่วงคลื่นความร้อน และเสนอแนะแนวทางในการจัดการไฟป่าในพื้นที่ศึกษา โดยใช้ภาพจากดาวเทียม LANDSAT-5 TM และ LANDSAT-8 OLI นามาปรับแก้พิกัดเชิงเรขาคณิต แล้วคานวณค่าการแผ่รังสี (radiance) ค่าการส่องสว่างของอ...
Saved in:
Main Authors: | , , , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Article |
Language: | Thai |
Published: |
2015
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/48415 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | Thai |
Summary: | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประยุกต์เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศในการหาพื้นที่การเกิดไฟป่าด้วยข้อมูลช่วงคลื่นความร้อน และเสนอแนะแนวทางในการจัดการไฟป่าในพื้นที่ศึกษา โดยใช้ภาพจากดาวเทียม LANDSAT-5 TM และ LANDSAT-8 OLI นามาปรับแก้พิกัดเชิงเรขาคณิต แล้วคานวณค่าการแผ่รังสี (radiance) ค่าการส่องสว่างของอุณหภูมิ (brightness temperature) หลังจากนั้นนาค่า brightness temperature และจุดที่เกิดไฟป่าจากส่วนควบคุมไฟป่า กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช มาจัดทาเป็นแผนที่ อีกทั้งทาการลงสารวจพื้นที่ศึกษาเพื่อเก็บข้อมูล ค่าพิกัดตาแหน่งบนพื้นโลก ด้วยเครื่องมือ GPS แล้วนาข้อมูลที่ทาการสารวจภาคสนามมาทาการตรวจสอบความถูกต้องกับข้อมูลจุดที่เกิดไฟป่า ด้วยสถิติ RMSE (root mean square error) ผลการศึกษาพบว่าภาพจากดาวเทียม LANDSAT สามารถวิเคราะห์ค่าอุณหภูมิออกมาได้และสามารถเห็นรายละเอียดของการเกิดไฟเพิ่มเติมนอกเหนือจากจุด hotspot ที่ได้รับมาจากส่วนควบคุมไฟป่า จากการศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าภาพจากดาวเทียม LANDSAT สามารถนามาใช้ในการศึกษาไฟป่าในประเทศไทยได้ เนื่องจากดาวเทียม LANDSAT เป็นดาวเทียมที่มีความละเอียด 30*30 เมตร ทาให้ทราบพื้นที่เป้าหมายและสามารถวิเคราะห์แนวไฟป่าที่เกิดขึ้นได้จึงช่วยให้สะดวกในการวางแผนการจัดการควบคุมไฟและการวางแผนในการเข้าถึงพื้นที่ได้ดียิ่งขึ้น |
---|