ผลของโปรแกรมฟื้นฟูสภาพที่บ้านของผู้สูงอายุหลังผ่าตัดใหญ่ทางช่องท้องต่อการฟื้นสภาพหลังจำหน่ายจากโรงพยาบาล
การวิจัยกึ่งทดลองครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมฟื้นฟูสภาพที่บ้าน ของผู้สูงอายุหลังผ่าตัดใหญ่ทางช่องท้องต่อการฟื้นสภาพหลังผ่าตัด โดยใช้ทฤษฏีการดูแล ตนเองของโอเร็มเป็นกรอบแนวคิดในการวิจัย กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยสูงอายุหลังผ่าตัดใหญ่ ทางช่องท้องที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลรามาธิบดี...
Saved in:
Main Authors: | , , , , , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Article |
Language: | Thai |
Published: |
2019
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/48428 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | Thai |
id |
th-mahidol.48428 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Mahidol University |
building |
Mahidol University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Mahidol University Library |
collection |
Mahidol University Institutional Repository |
language |
Thai |
topic |
โปรแกรมฟื้นฟูสภาพที่บ้าน ผู้สูงอายุ การผ่าตัดใหญ่ทางช่องท้อง การฟื้นสภาพหลังผ่าตัด Home-based recovery program Older patients Major abdominal operation Postoperative Recovery |
spellingShingle |
โปรแกรมฟื้นฟูสภาพที่บ้าน ผู้สูงอายุ การผ่าตัดใหญ่ทางช่องท้อง การฟื้นสภาพหลังผ่าตัด Home-based recovery program Older patients Major abdominal operation Postoperative Recovery ธีรารัตน์ หม่อมปลัด สุปรีดา มั่นคง ยุพาพิน ศิรโพธิ์งาม Teerarat Momplad Supreeda Monkong Yupapin Sirapo-ngam ผลของโปรแกรมฟื้นฟูสภาพที่บ้านของผู้สูงอายุหลังผ่าตัดใหญ่ทางช่องท้องต่อการฟื้นสภาพหลังจำหน่ายจากโรงพยาบาล |
description |
การวิจัยกึ่งทดลองครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมฟื้นฟูสภาพที่บ้าน
ของผู้สูงอายุหลังผ่าตัดใหญ่ทางช่องท้องต่อการฟื้นสภาพหลังผ่าตัด โดยใช้ทฤษฏีการดูแล
ตนเองของโอเร็มเป็นกรอบแนวคิดในการวิจัย กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยสูงอายุหลังผ่าตัดใหญ่
ทางช่องท้องที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลรามาธิบดี ระหว่างเดือนมิถุนายน 2553-มกราคม
2554 เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงตามคุณสมบัติที่กำหนดจำนวน 70 ราย แบ่งเป็น
กลุ่มควบคุม 35 ราย และกลุ่มทดลอง 35 ราย ได้รับการพยาบาลตามปกติร่วมกับโปรแกรม
ฟื้นฟูสภาพที่บ้านที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย แบบ
บันทึกข้อมูลส่วนบุคคล และแบบประเมินการฟื้นสภาพหลังผ่าตัด ได้แก่ ความปวดแผลหลังผ่าตัด
ความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน และภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัด สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์
ข้อมูลคือ สถิติบรรยาย (ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน) การทดสอบไคสแควร์ การ
ทดสอบแมนท์วิทนีย์ การทดสอบวิลคอกซัน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า 1) ในกลุ่ม
ทดลองหลังได้รับโปรแกรมฟื้นฟูสภาพที่บ้านมีคะแนนเฉลี่ยความปวดแผลหลังผ่าตัดน้อยกว่า
ก่อนได้รับโปรแกรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และมีคะแนนเฉลี่ยความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตร
ประจำวันสูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 2) ในสัปดาห์ที่ 2 หลังจำหน่ายจาก
โรงพยาบาล ผู้ป่วยในกลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความปวดแผลหลังผ่าตัดน้อยกว่ากลุ่มควบคุม
อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และมีคะแนนเฉลี่ยความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันสูงกว่า
กลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ผู้ป่วยทั้งสองกลุ่มไม่เกิดการติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนล่าง
แต่เกิดการติดเชื้อที่ตำแหน่งผ่าตัดในกลุ่มทดลอง 3 ราย และกลุ่มควบคุม 7 ราย โดยมีอัตราการ
ติดเชื้อที่ตำแหน่งผ่าตัดไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ผลการวิจัยสามารถนำไปใช้เป็น
แนวทางในการดูแลผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่องจากโรงพยาบาลสู่บ้าน และช่วยพัฒนาการบริการสุขภาพ
ให้มีคุณภาพยิ่งขึ้น |
author2 |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี |
author_facet |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี ธีรารัตน์ หม่อมปลัด สุปรีดา มั่นคง ยุพาพิน ศิรโพธิ์งาม Teerarat Momplad Supreeda Monkong Yupapin Sirapo-ngam |
format |
Article |
author |
ธีรารัตน์ หม่อมปลัด สุปรีดา มั่นคง ยุพาพิน ศิรโพธิ์งาม Teerarat Momplad Supreeda Monkong Yupapin Sirapo-ngam |
author_sort |
ธีรารัตน์ หม่อมปลัด |
title |
ผลของโปรแกรมฟื้นฟูสภาพที่บ้านของผู้สูงอายุหลังผ่าตัดใหญ่ทางช่องท้องต่อการฟื้นสภาพหลังจำหน่ายจากโรงพยาบาล |
title_short |
ผลของโปรแกรมฟื้นฟูสภาพที่บ้านของผู้สูงอายุหลังผ่าตัดใหญ่ทางช่องท้องต่อการฟื้นสภาพหลังจำหน่ายจากโรงพยาบาล |
title_full |
ผลของโปรแกรมฟื้นฟูสภาพที่บ้านของผู้สูงอายุหลังผ่าตัดใหญ่ทางช่องท้องต่อการฟื้นสภาพหลังจำหน่ายจากโรงพยาบาล |
title_fullStr |
ผลของโปรแกรมฟื้นฟูสภาพที่บ้านของผู้สูงอายุหลังผ่าตัดใหญ่ทางช่องท้องต่อการฟื้นสภาพหลังจำหน่ายจากโรงพยาบาล |
title_full_unstemmed |
ผลของโปรแกรมฟื้นฟูสภาพที่บ้านของผู้สูงอายุหลังผ่าตัดใหญ่ทางช่องท้องต่อการฟื้นสภาพหลังจำหน่ายจากโรงพยาบาล |
title_sort |
ผลของโปรแกรมฟื้นฟูสภาพที่บ้านของผู้สูงอายุหลังผ่าตัดใหญ่ทางช่องท้องต่อการฟื้นสภาพหลังจำหน่ายจากโรงพยาบาล |
publishDate |
2019 |
url |
https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/48428 |
_version_ |
1763489619161120768 |
spelling |
th-mahidol.484282023-03-30T23:01:51Z ผลของโปรแกรมฟื้นฟูสภาพที่บ้านของผู้สูงอายุหลังผ่าตัดใหญ่ทางช่องท้องต่อการฟื้นสภาพหลังจำหน่ายจากโรงพยาบาล Effects of a Home-Based Recovery Program on Postoperative Recovery among Older Patients Undergoing Major Abdominal Operation ธีรารัตน์ หม่อมปลัด สุปรีดา มั่นคง ยุพาพิน ศิรโพธิ์งาม Teerarat Momplad Supreeda Monkong Yupapin Sirapo-ngam มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี โปรแกรมฟื้นฟูสภาพที่บ้าน ผู้สูงอายุ การผ่าตัดใหญ่ทางช่องท้อง การฟื้นสภาพหลังผ่าตัด Home-based recovery program Older patients Major abdominal operation Postoperative Recovery การวิจัยกึ่งทดลองครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมฟื้นฟูสภาพที่บ้าน ของผู้สูงอายุหลังผ่าตัดใหญ่ทางช่องท้องต่อการฟื้นสภาพหลังผ่าตัด โดยใช้ทฤษฏีการดูแล ตนเองของโอเร็มเป็นกรอบแนวคิดในการวิจัย กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยสูงอายุหลังผ่าตัดใหญ่ ทางช่องท้องที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลรามาธิบดี ระหว่างเดือนมิถุนายน 2553-มกราคม 2554 เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงตามคุณสมบัติที่กำหนดจำนวน 70 ราย แบ่งเป็น กลุ่มควบคุม 35 ราย และกลุ่มทดลอง 35 ราย ได้รับการพยาบาลตามปกติร่วมกับโปรแกรม ฟื้นฟูสภาพที่บ้านที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย แบบ บันทึกข้อมูลส่วนบุคคล และแบบประเมินการฟื้นสภาพหลังผ่าตัด ได้แก่ ความปวดแผลหลังผ่าตัด ความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน และภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัด สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูลคือ สถิติบรรยาย (ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน) การทดสอบไคสแควร์ การ ทดสอบแมนท์วิทนีย์ การทดสอบวิลคอกซัน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า 1) ในกลุ่ม ทดลองหลังได้รับโปรแกรมฟื้นฟูสภาพที่บ้านมีคะแนนเฉลี่ยความปวดแผลหลังผ่าตัดน้อยกว่า ก่อนได้รับโปรแกรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และมีคะแนนเฉลี่ยความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตร ประจำวันสูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 2) ในสัปดาห์ที่ 2 หลังจำหน่ายจาก โรงพยาบาล ผู้ป่วยในกลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความปวดแผลหลังผ่าตัดน้อยกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และมีคะแนนเฉลี่ยความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันสูงกว่า กลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ผู้ป่วยทั้งสองกลุ่มไม่เกิดการติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนล่าง แต่เกิดการติดเชื้อที่ตำแหน่งผ่าตัดในกลุ่มทดลอง 3 ราย และกลุ่มควบคุม 7 ราย โดยมีอัตราการ ติดเชื้อที่ตำแหน่งผ่าตัดไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ผลการวิจัยสามารถนำไปใช้เป็น แนวทางในการดูแลผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่องจากโรงพยาบาลสู่บ้าน และช่วยพัฒนาการบริการสุขภาพ ให้มีคุณภาพยิ่งขึ้น This quasi-experimental research explored the effects of a home-based recovery program on postoperative recovery among older patients undergoing a major abdominal operation. The conceptual framework of the study was derived from Orem’s self-care theory. The purposive sample consisted of 70 older patients undergoing a major abdominal operation at Ramathibodi hospital between June 2010-January 2011. The subjects were equally assigned to the control (n=35) and the experimental group (n=35). The control group received only conventional nursing care, and the experimental group received conventional nursing care coupled with the home-based recovery program. Instruments used for data collection were demographic data form, the Pain Numerical Rating Scale, the Barthel Activity of Daily Living Index, and the Postoperative Complication Form. The data were analyzed using descriptive statistics, the Chi-square test, the Mann-Whitney U test, the Wilcoxon signed ranks test, the independent t-test, and the paired t-test. Results of the study indicated that 1) the experimental group, after participating in the home-based recovery program, had a significantly lower mean score of postoperative pain and a significantly higher mean score of activities of daily living than before participating in the program 2) at two weeks postdischarge, the patients in the experimental group had a significantly lower mean score of postoperative pain and a significantly higher mean score of activities of daily living than the control group. Patients in both groups did not have any lower respiratory tract infection, but three cases in the experimental group and seven cases in the control group had surgical site infection. However, the incidence of postoperative complications in the surgical site infection were not statistically significant. The findings of this study could be used as a guideline for the continuing care of older patients from hospital to home and to enhance efficiency in the quality of health services. 2019-12-18T03:26:22Z 2019-12-18T03:26:22Z 2562-12-18 2555 Research Article รามาธิบดีพยาบาลสาร. ปีที่ 18, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-เม.ย. 2555), 84-101 0858-9739 (Print) 2672-9784 (Online) https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/48428 tha มหาวิทยาลัยมหิดล โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf |