พฤติกรรมและการรับรู้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับภาวะโลกร้อนของพนักงานบริษัทประกันชีวิต ในเขตกรุงเทพมหานคร

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ คือ ศึกษาพฤติกรรม และการรับรู้ข้อมูลเกี่ยวกับภาวะโลกร้อนของพนักงานบริษัทประกันชีวิต ในเขตกรุงเทพมหานคร เพื่อใช้เป็นแนวทางในการวางแผนการประชาสัมพันธ์ และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ยังปฏิบัติไม่ถูกต้อง ซึ่งทำการศึกษาจากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 367 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: นิรมล สุวรรณนทีรักษ์, ปกรณ์ สุวานิช, Parkorn Suwanich
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์
Format: Article
Language:Thai
Published: 2015
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/48701
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.48701
record_format dspace
spelling th-mahidol.487012023-04-12T15:31:53Z พฤติกรรมและการรับรู้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับภาวะโลกร้อนของพนักงานบริษัทประกันชีวิต ในเขตกรุงเทพมหานคร Practices and Perceptions of Global Warming of Life Insurance Company s Employees in Bangkok นิรมล สุวรรณนทีรักษ์ ปกรณ์ สุวานิช Parkorn Suwanich มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ คือ ศึกษาพฤติกรรม และการรับรู้ข้อมูลเกี่ยวกับภาวะโลกร้อนของพนักงานบริษัทประกันชีวิต ในเขตกรุงเทพมหานคร เพื่อใช้เป็นแนวทางในการวางแผนการประชาสัมพันธ์ และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ยังปฏิบัติไม่ถูกต้อง ซึ่งทำการศึกษาจากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 367 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถาม โดยแบบสอบถามชุดแรก ประกอบด้วยคำถามเกี่ยวกับพฤติกรรมในด้านต่างๆ คือการใช้ไฟฟ้าในที่อยู่อาศัย การใช้น้ำมันเชื้อเพลิง กรจัดการขยะ การซื้อสินค้าหรือบริการ การร่วมมือกันในการแก้ไขปัญหาภาวะโลกร้อน และการรับรู้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับภาวะโลกร้อน ส่วนแบบสอบถามอีก 1 ชุด คือ แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับข้อมูลพฤติกรรมที่มีค่าเฉลี่ยน้อยกว่า 1.5 จากคะแนนเต็ม 3.0 โดยผลการศึกษาพบว่า ระดับพฤติกรรมของกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่อยู่ในระดับปานกลาง ยกเว้นการใช้ไฟฟ้าในที่อยู่อาศัยอยู่ในระดับสูง ปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลกระทบต่อพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับภาวะโลกร้อน คือ เพศ การมีบุตรหรือไม่มีบุตร สาขาวิชา และความสนใจเกี่ยวกับภาวะโลกร้อน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ผลการศึกษาการรับรู้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับภาวะโลกร้อนพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เคยได้รับข้อมูล และต้องการได้รับข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับภาวะโลกร้อน ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการเคยได้รับรู้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับภาวะโลกร้อน คือสาขาวิชา อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยสื่อที่กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ได้รับข้อมูลมากที่สุด คือ โทรทัศน์ ส่วนปัญหาในการรับรู้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับภาวะโลกร้อนมากที่สุด คือ ช่วงเวลาที่นำเสนอไม่ตรงกับเวลาที่เปิดรับสื่อ นอกจากนี้จากผลการศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับข้อมูลพฤติกรรมที่มีค่าเฉลี่ยน้อยกว่า 1.5 จากคะแนนเต็ม 3.0 พบว่า กลุ่มตัวอย่างสนใจในการรับรู้ข้อมูลที่เป็นข้อมูลใหม่ ต้องการข้อมูลที่ชัดเจน และสามารถนำไปปฏิบัติได้ 2015-09-05T04:50:40Z 2020-01-07T06:15:13Z 2015-09-05T04:50:40Z 2020-01-07T06:15:13Z 2015-09-05 2015-09-05 Article สยามวิชาการ. ปีที่ 10, ฉบับที่ 1 (2552), 99-107. 1513-1076 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/48701 tha มหาวิทยาลัยมหิดล
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
description การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ คือ ศึกษาพฤติกรรม และการรับรู้ข้อมูลเกี่ยวกับภาวะโลกร้อนของพนักงานบริษัทประกันชีวิต ในเขตกรุงเทพมหานคร เพื่อใช้เป็นแนวทางในการวางแผนการประชาสัมพันธ์ และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ยังปฏิบัติไม่ถูกต้อง ซึ่งทำการศึกษาจากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 367 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถาม โดยแบบสอบถามชุดแรก ประกอบด้วยคำถามเกี่ยวกับพฤติกรรมในด้านต่างๆ คือการใช้ไฟฟ้าในที่อยู่อาศัย การใช้น้ำมันเชื้อเพลิง กรจัดการขยะ การซื้อสินค้าหรือบริการ การร่วมมือกันในการแก้ไขปัญหาภาวะโลกร้อน และการรับรู้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับภาวะโลกร้อน ส่วนแบบสอบถามอีก 1 ชุด คือ แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับข้อมูลพฤติกรรมที่มีค่าเฉลี่ยน้อยกว่า 1.5 จากคะแนนเต็ม 3.0 โดยผลการศึกษาพบว่า ระดับพฤติกรรมของกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่อยู่ในระดับปานกลาง ยกเว้นการใช้ไฟฟ้าในที่อยู่อาศัยอยู่ในระดับสูง ปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลกระทบต่อพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับภาวะโลกร้อน คือ เพศ การมีบุตรหรือไม่มีบุตร สาขาวิชา และความสนใจเกี่ยวกับภาวะโลกร้อน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ผลการศึกษาการรับรู้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับภาวะโลกร้อนพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เคยได้รับข้อมูล และต้องการได้รับข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับภาวะโลกร้อน ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการเคยได้รับรู้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับภาวะโลกร้อน คือสาขาวิชา อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยสื่อที่กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ได้รับข้อมูลมากที่สุด คือ โทรทัศน์ ส่วนปัญหาในการรับรู้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับภาวะโลกร้อนมากที่สุด คือ ช่วงเวลาที่นำเสนอไม่ตรงกับเวลาที่เปิดรับสื่อ นอกจากนี้จากผลการศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับข้อมูลพฤติกรรมที่มีค่าเฉลี่ยน้อยกว่า 1.5 จากคะแนนเต็ม 3.0 พบว่า กลุ่มตัวอย่างสนใจในการรับรู้ข้อมูลที่เป็นข้อมูลใหม่ ต้องการข้อมูลที่ชัดเจน และสามารถนำไปปฏิบัติได้
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์
นิรมล สุวรรณนทีรักษ์
ปกรณ์ สุวานิช
Parkorn Suwanich
format Article
author นิรมล สุวรรณนทีรักษ์
ปกรณ์ สุวานิช
Parkorn Suwanich
spellingShingle นิรมล สุวรรณนทีรักษ์
ปกรณ์ สุวานิช
Parkorn Suwanich
พฤติกรรมและการรับรู้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับภาวะโลกร้อนของพนักงานบริษัทประกันชีวิต ในเขตกรุงเทพมหานคร
author_sort นิรมล สุวรรณนทีรักษ์
title พฤติกรรมและการรับรู้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับภาวะโลกร้อนของพนักงานบริษัทประกันชีวิต ในเขตกรุงเทพมหานคร
title_short พฤติกรรมและการรับรู้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับภาวะโลกร้อนของพนักงานบริษัทประกันชีวิต ในเขตกรุงเทพมหานคร
title_full พฤติกรรมและการรับรู้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับภาวะโลกร้อนของพนักงานบริษัทประกันชีวิต ในเขตกรุงเทพมหานคร
title_fullStr พฤติกรรมและการรับรู้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับภาวะโลกร้อนของพนักงานบริษัทประกันชีวิต ในเขตกรุงเทพมหานคร
title_full_unstemmed พฤติกรรมและการรับรู้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับภาวะโลกร้อนของพนักงานบริษัทประกันชีวิต ในเขตกรุงเทพมหานคร
title_sort พฤติกรรมและการรับรู้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับภาวะโลกร้อนของพนักงานบริษัทประกันชีวิต ในเขตกรุงเทพมหานคร
publishDate 2015
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/48701
_version_ 1781415956950548480