การสะสมของตะกั่วในขนนกที่มีอุปนิสัยการกินอาหารแตกต่างกัน บริเวณพื้นที่ชุ่มน้ำบึงบอระเพ็ด จ.นครสวรรค์ประเทศไทย
การศึกษาในครั้งนี้มี จุด มุ่งหมายเพื่อวิเคราะห์หาปริมาณการสะสมของสารตะกั่ว ในขนหางของนกประจำถิ่นที่อาศํย อยู่ในนบริเวณพื้นที่ชุ่มน้ำบึงบอระเพ็ดจังหวัดนครสวรรค์ ซึ่งเป็นพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในพื้นที่ภาคเหนือ ตอนล่างของประเทศไทย โดยเก็บตัวอย่างในช่วงเดือนมิถุนายนจนถึงเดือนธันวาคม พ.ศ.255...
Saved in:
Main Authors: | , , , , , , , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Article |
Language: | Thai |
Published: |
2015
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/48731 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | Thai |
Summary: | การศึกษาในครั้งนี้มี จุด มุ่งหมายเพื่อวิเคราะห์หาปริมาณการสะสมของสารตะกั่ว ในขนหางของนกประจำถิ่นที่อาศํย
อยู่ในนบริเวณพื้นที่ชุ่มน้ำบึงบอระเพ็ดจังหวัดนครสวรรค์ ซึ่งเป็นพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในพื้นที่ภาคเหนือ
ตอนล่างของประเทศไทย โดยเก็บตัวอย่างในช่วงเดือนมิถุนายนจนถึงเดือนธันวาคม พ.ศ.2554 ด้วยการตั้งตาข่าย
ดักนกในพื้นที่จุดเก็บตัวอย่าง 7 แห่งรอบพื้นที่ เมื่อได้นกมาแล้วจะทำ การติดเครื่องหมายประจำ ตัวนกและจำแนก
อุปนิสัย การกิน อาหารของนกแต่ละชนดิ ออกเป็น 3 กล่มุ แบ่งเป็นนกกิน พืช นกกิน สัตว์ และนกที่กิน ทั้ง พืชและสัตว์
จากนั้นนำ ขนหางของนกแต่ละตัวมาวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการ โดยใช้เครื่องอะตอมมิกแอบซอร์พชันสเปกโทร
สโกปีแบบไม่ใช้เปลวไฟ (Graphite Furnace Atomic Absorption Spectrophotometer (GFAAS) จากการวิเคราะห์
นกจำนวน 74 ตัว ในนก 24 ชนิดพันธุ์ พบว่านกกินพืชมีการสะสมของสารตะกั่วมากที่สุด ส่วนนกที่กินทั้งพืชและ
สัตว์มีการสะสมน้อยที่สุด โดยที่นกกินพืช นกกินสัตว์ และนกที่กินทั้งพืชและสัตว์ มีค่าการสะสมของสารตะกั่ว
อยู่ในช่วง 0.88 - 40.83, 0.18 - 28.09 และ 0.06 - 7.17 ไมโครกรัมต่อกรัม น้ำหนักแห้ง ตามลำดับ และมีค่าเฉลี่ย
14.44 ± 2.73, 7.69 ± 2.23 และ 2.84 ± 0.74 ไมโครกรัมต่อกรัม น้ำหนักแห้ง ตามลำดับ สำหรับนกที่พบว่ามีการ
สะสมของสารตะกั่วมากที่สุดคือ นกสีชมพูสวน โดยมีค่าอยู่ในช่วง 40.83 ± 8.02 ไมโครกรัมต่อกรัม น้ำหนักแห้ง
ความเข้มข้นของสารตะกั่วที่พบในการศึกษาครั้งนี้มีระดับต่ำเมื่อเปรียบเทียบกับนกที่อาศัยในเขตมลพิษ แต่ในบาง
ชนิดพันธุ์พบว่ามีค่าใกล้เคียงกับนกที่อาศัยในเขตอุตสาหกรรม ซึ่งรายงานนี้เป็นรายงานการสะสมของสารตะกั่ว
ในขนนกของประเทศไทยเป็นครั้งแรก |
---|