ความหลากหลายของพืชกาฝากและพรรณไม้อาศัย วัดใหญ่ชัยมงคล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ความหลากหลายของพืชกาฝาก วัดใหญ่ชัยมงคล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ใน พื้นที่ศึกษา 3 บริเวณ พบว่าบริเวณพระตำหนักสมเด็จพระนเรศวรมหาราชไม่พบพืชกาฝาก ส่วนบริเวณโบราณสถาน และบริเวณศาลาเก้าเหลี่ยม พบพืชกาฝากวงศ์ Loranthaceae ชนิด พืชกาฝากมะม่วง (Dendrophthoe pentandra (L.) Miq.) ส่วนความหลากหลายของพรรณไม้...
Saved in:
Main Authors: | , , , , , , , , , , , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Article |
Language: | Thai |
Published: |
2015
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/48733 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | Thai |
id |
th-mahidol.48733 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Mahidol University |
building |
Mahidol University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Mahidol University Library |
collection |
Mahidol University Institutional Repository |
language |
Thai |
topic |
พืชกาฝาก กาฝากมะม่วง พรรณไม้อาศัย Host plants Dendrophthoe pentandra (L.) Miq Parasitic plants |
spellingShingle |
พืชกาฝาก กาฝากมะม่วง พรรณไม้อาศัย Host plants Dendrophthoe pentandra (L.) Miq Parasitic plants อัสมา ลังประเสริฐ อนงคณ์ หัมพานนท์ รัฐพล ศรประเสริฐ สยาม อรุณศรีมรกต ทนงศักดิ์ จงอนุรักษ์ พระมหานัธนิติ สุมโน Assama Langprasort Anong Hambananda Ratapol Sornprasert Sayam Aroonsrimorakot Thanongsak Jonganurak Pha Maha Nutthanit Sumano ความหลากหลายของพืชกาฝากและพรรณไม้อาศัย วัดใหญ่ชัยมงคล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา |
description |
ความหลากหลายของพืชกาฝาก วัดใหญ่ชัยมงคล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ใน
พื้นที่ศึกษา 3 บริเวณ พบว่าบริเวณพระตำหนักสมเด็จพระนเรศวรมหาราชไม่พบพืชกาฝาก
ส่วนบริเวณโบราณสถาน และบริเวณศาลาเก้าเหลี่ยม พบพืชกาฝากวงศ์ Loranthaceae ชนิด
พืชกาฝากมะม่วง (Dendrophthoe pentandra (L.) Miq.) ส่วนความหลากหลายของพรรณไม้
อาศัย พบพืชกาฝากมะม่วง เกาะอาศัยบนพรรณไม้อาศัย 7 ชนิด ได้แก่ มะม่วง (Mangifera
indica L.) ลั่นทมขาว (Plumeria obtusa L.) หูกวาง (Terminalia catappa L.) สัก (Tectona
grandis L.f.) คาง (Albizia lebbeckoides (DC.) Benth.) ขี้เหล็ก (Senna siamea Lam.) และ
โพ (Ficus religiosa L.) สำหรับความหลากหลายของพรรณไม้ที่ไม่มีพืชกาฝาก พบ 27 ชนิด
ความหนาแน่นของพืชกาฝากมะม่วงบนต้นมะม่วง 7 ต้น จำนวน 12 กอ ลั่นทมขาว 6 ต้น
จำนวน 13 กอ หูกวาง 1 ต้น จำนวน 2 กอ สัก 1 ต้น จำนวน 1 กอ คาง 7 ต้น จำนวน 5 กอ
ขี้เหล็ก 4 ต้น จำนวน 8 กอ และโพ 1 ต้น จำนวน 4 กอ ส่วนความหนาแน่นของพรรณไม้
อาศัย พบว่า มะม่วง 33 ต้น มีพืชกาฝาก 7 ต้น ลั่นทมขาว 51 ต้น มีพืชกาฝาก 6 ต้น หูกวาง 2 ต้น มีพืชกาฝาก 1 ต้น สัก 2 ต้น มีพืชกาฝาก 1 ต้น คาง 40 ต้น มีพืชกาฝาก 3 ต้น ขี้เหล็ก
45 ต้น มีพืชกาฝาก 4 ต้น และโพ 8 ต้น มีพืชกาฝาก 1 ต้น โดยพืชกาฝากขึ้นอยู่สูงจากพื้นดิน
บนพรรณไม้อาศัย เฉลี่ย 7.63 เมตร ความสัมพันธ์ระหว่างพืชกาฝากกับพรรณไม้อาศัย พบว่า
พืชกาฝากมะม่วง เป็นกาฝากเบียนต้น ขึ้นบริเวณปลายกิ่งหรือลำต้นของพรรณไม้อาศัย มีราก
เบียนที่แทงผ่านเปลือกไม้เข้าไปยังเนื้อไม้ลึกเฉลี่ย 2-3 เซนติเมตร |
author2 |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ |
author_facet |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ อัสมา ลังประเสริฐ อนงคณ์ หัมพานนท์ รัฐพล ศรประเสริฐ สยาม อรุณศรีมรกต ทนงศักดิ์ จงอนุรักษ์ พระมหานัธนิติ สุมโน Assama Langprasort Anong Hambananda Ratapol Sornprasert Sayam Aroonsrimorakot Thanongsak Jonganurak Pha Maha Nutthanit Sumano |
format |
Article |
author |
อัสมา ลังประเสริฐ อนงคณ์ หัมพานนท์ รัฐพล ศรประเสริฐ สยาม อรุณศรีมรกต ทนงศักดิ์ จงอนุรักษ์ พระมหานัธนิติ สุมโน Assama Langprasort Anong Hambananda Ratapol Sornprasert Sayam Aroonsrimorakot Thanongsak Jonganurak Pha Maha Nutthanit Sumano |
author_sort |
อัสมา ลังประเสริฐ |
title |
ความหลากหลายของพืชกาฝากและพรรณไม้อาศัย วัดใหญ่ชัยมงคล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา |
title_short |
ความหลากหลายของพืชกาฝากและพรรณไม้อาศัย วัดใหญ่ชัยมงคล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา |
title_full |
ความหลากหลายของพืชกาฝากและพรรณไม้อาศัย วัดใหญ่ชัยมงคล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา |
title_fullStr |
ความหลากหลายของพืชกาฝากและพรรณไม้อาศัย วัดใหญ่ชัยมงคล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา |
title_full_unstemmed |
ความหลากหลายของพืชกาฝากและพรรณไม้อาศัย วัดใหญ่ชัยมงคล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา |
title_sort |
ความหลากหลายของพืชกาฝากและพรรณไม้อาศัย วัดใหญ่ชัยมงคล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา |
publishDate |
2015 |
url |
https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/48733 |
_version_ |
1781415764357545984 |
spelling |
th-mahidol.487332023-04-12T15:30:23Z ความหลากหลายของพืชกาฝากและพรรณไม้อาศัย วัดใหญ่ชัยมงคล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา Diversity of Parasitic Plants and Host Plants at Wat Yai Chai Mongkol, Phra Nakorn Sri Ayutthaya Province อัสมา ลังประเสริฐ อนงคณ์ หัมพานนท์ รัฐพล ศรประเสริฐ สยาม อรุณศรีมรกต ทนงศักดิ์ จงอนุรักษ์ พระมหานัธนิติ สุมโน Assama Langprasort Anong Hambananda Ratapol Sornprasert Sayam Aroonsrimorakot Thanongsak Jonganurak Pha Maha Nutthanit Sumano มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม. คณะศึกษาศาสตร์. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม. คณะวิทยาศาสตร์.ภาควิชาวิทยาศาสตร์.สาขาวิชาชีววิทยา ศูนย์การศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม-ชัยนาท กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. สำนักงานหอพรรณไม้ วัดใหญ่ชัยมงคล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พืชกาฝาก กาฝากมะม่วง พรรณไม้อาศัย Host plants Dendrophthoe pentandra (L.) Miq Parasitic plants ความหลากหลายของพืชกาฝาก วัดใหญ่ชัยมงคล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ใน พื้นที่ศึกษา 3 บริเวณ พบว่าบริเวณพระตำหนักสมเด็จพระนเรศวรมหาราชไม่พบพืชกาฝาก ส่วนบริเวณโบราณสถาน และบริเวณศาลาเก้าเหลี่ยม พบพืชกาฝากวงศ์ Loranthaceae ชนิด พืชกาฝากมะม่วง (Dendrophthoe pentandra (L.) Miq.) ส่วนความหลากหลายของพรรณไม้ อาศัย พบพืชกาฝากมะม่วง เกาะอาศัยบนพรรณไม้อาศัย 7 ชนิด ได้แก่ มะม่วง (Mangifera indica L.) ลั่นทมขาว (Plumeria obtusa L.) หูกวาง (Terminalia catappa L.) สัก (Tectona grandis L.f.) คาง (Albizia lebbeckoides (DC.) Benth.) ขี้เหล็ก (Senna siamea Lam.) และ โพ (Ficus religiosa L.) สำหรับความหลากหลายของพรรณไม้ที่ไม่มีพืชกาฝาก พบ 27 ชนิด ความหนาแน่นของพืชกาฝากมะม่วงบนต้นมะม่วง 7 ต้น จำนวน 12 กอ ลั่นทมขาว 6 ต้น จำนวน 13 กอ หูกวาง 1 ต้น จำนวน 2 กอ สัก 1 ต้น จำนวน 1 กอ คาง 7 ต้น จำนวน 5 กอ ขี้เหล็ก 4 ต้น จำนวน 8 กอ และโพ 1 ต้น จำนวน 4 กอ ส่วนความหนาแน่นของพรรณไม้ อาศัย พบว่า มะม่วง 33 ต้น มีพืชกาฝาก 7 ต้น ลั่นทมขาว 51 ต้น มีพืชกาฝาก 6 ต้น หูกวาง 2 ต้น มีพืชกาฝาก 1 ต้น สัก 2 ต้น มีพืชกาฝาก 1 ต้น คาง 40 ต้น มีพืชกาฝาก 3 ต้น ขี้เหล็ก 45 ต้น มีพืชกาฝาก 4 ต้น และโพ 8 ต้น มีพืชกาฝาก 1 ต้น โดยพืชกาฝากขึ้นอยู่สูงจากพื้นดิน บนพรรณไม้อาศัย เฉลี่ย 7.63 เมตร ความสัมพันธ์ระหว่างพืชกาฝากกับพรรณไม้อาศัย พบว่า พืชกาฝากมะม่วง เป็นกาฝากเบียนต้น ขึ้นบริเวณปลายกิ่งหรือลำต้นของพรรณไม้อาศัย มีราก เบียนที่แทงผ่านเปลือกไม้เข้าไปยังเนื้อไม้ลึกเฉลี่ย 2-3 เซนติเมตร The diversity of parasitic plants at Wat Yai Chaimongkol, Phra Nakorn Sri Ayutthaya Province. There are 3 study areas which are the King Naresuan the Great Palace area, the archeological site area and the enneagon pavilion area. In the King Naresuan the Great Palace area, parasitic plants are not found. However, in the archaeological site area and the enneagon pavilion area, a species of parasitic plant, which is Kaa faak ma muang (Dendrophthoe pentandra (L.) Miq.), is found. About the diversity of the host plant species, there are 7 species of trees, which are Mango trees (Mangifera indica L.), Singapore plumeria trees (Plumeria obtusa L.), Umbrella trees (Terminalia catappa L.), Teak trees (Tectona grandis L.f.), Kang trees (Albizia lebbeckoides (DC.) Benth.), Cassod trees (Senna siamea (Lam.) Irwin Barneby) and Sacred fig trees (Ficus religiosa L.). There are 27 species of trees without parasitic plants. Concerning the density of Kaa faak ma muang, we found 12 clumps, 13 clumps, 2 clumps, 1 clump, 5 clumps, 8 clumps and 4 clumps of Kaa faak ma muang dwelling on 7 Mango trees, 6 White temple trees, 1 Umbrella tree, 1 Teak tree, 7 Khang trees, 4 Cassod trees and 1 Sacred fig tree respectively. Regarding to the density of host plant, we found that 7 out of 33 Mango tress, 6 out of 51 White temple trees, 1 out of 2 Umbrella trees, 1 out of 2 Teak trees, 3 out of 40 Khang trees, 4 out of 45 Cassod trees and 1 out of 8 Sacred fig trees have parasitic plants dwelling on them. By average, the parasitic plants are dwelled 7.63 m. above ground. The relationship between the parasitic plants and their hosts can be described that Kaa faak ma muang dwell near the tip of twigs or on the tree trunks where their roots penetrate the hosts through the barks to the tissues on the average depth of 2-3 cm. Keywords Parasitic plants, Dendrophthoe. 2015-09-21T10:30:13Z 2020-01-07T08:54:48Z 2015-09-21T10:30:13Z 2020-01-07T08:54:48Z 2015-09-21 2554-01 Article วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. ปีที่ 7, ฉบับที่ 13 (2554), 100-112. https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/48733 tha มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf |