การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการดูแลเด็กป่วยขณะเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
การวิจัยเชิงบรรยายครั้งนี้เพื่อศึกษาความแตกต่างระหว่างความต้องการมีส่วนร่วม และการได้มีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการดูแลเด็กป่วยขณะเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล และความ สัมพันธ์ระหว่างอายุของผู้ปกครอง อายุของเด็กป่วย จeนวนปีที่ได้รับการศึกษาของผู้ปกครอง ระยะเวลาที่ผู้ปกครองดูแลเด็กป่วยต่อวัน จำนวนครั้งท...
Saved in:
Main Authors: | , , , , , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Article |
Language: | Thai |
Published: |
2020
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/48750 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | Thai |
id |
th-mahidol.48750 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Mahidol University |
building |
Mahidol University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Mahidol University Library |
collection |
Mahidol University Institutional Repository |
language |
Thai |
topic |
ความต้องการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง การได้มีส่วนร่วมของผู้ปกครอง เด็กป่วยในโรงพยาบาล Preference parent participation Actual parent participation Hospitalized children |
spellingShingle |
ความต้องการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง การได้มีส่วนร่วมของผู้ปกครอง เด็กป่วยในโรงพยาบาล Preference parent participation Actual parent participation Hospitalized children แขนภา รัตนพิบูลย์ ชื่นฤดี คงศักดิ์ตระกูล อัจฉรียา ปทุมวัน Khaenapa Rattanapibun Chuanruedee Kongsaktrakul Autchareeya Patoomwan การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการดูแลเด็กป่วยขณะเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล |
description |
การวิจัยเชิงบรรยายครั้งนี้เพื่อศึกษาความแตกต่างระหว่างความต้องการมีส่วนร่วม
และการได้มีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการดูแลเด็กป่วยขณะเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล และความ
สัมพันธ์ระหว่างอายุของผู้ปกครอง อายุของเด็กป่วย จeนวนปีที่ได้รับการศึกษาของผู้ปกครอง
ระยะเวลาที่ผู้ปกครองดูแลเด็กป่วยต่อวัน จำนวนครั้งที่เด็กป่วยนอนโรงพยาบาล และการรับรู้
ความรุนแรงของโรคกับความต้องการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการดูแลเด็กป่วยขณะเข้ารับ
การรักษาในโรงพยาบาล โดยใช้แนวคิดการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการดูแลเด็กป่วยของ
เชปป์ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ปกครองของเด็กป่วยที่มีอายุตั้งแต่แรกเกิดถึง 18 ปี ที่เข้ารับการรักษา
ในหอผู้ป่วยสามัญเด็ก โรงพยาบาลรามาธิบดี ระหว่างเดือนธันวาคม 2551 ถึงเดือนมีนาคม
2552 จำนวน 90 ราย ถูกคัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบบันทึกข้อมูล
ส่วนบุคคลของเด็กป่วยและผู้ปกครอง แบบสอบถามความต้องการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการ
ดูแลเด็กป่วย และแบบสอบถามการได้มีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการดูแลเด็กป่วย วิเคราะห์
ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย สถิติที สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และสหสัมพันธ์แบบสเปียร์แมน ผล
การวิจัยพบว่าความต้องการมีส่วนร่วมและการได้มีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการดูแลเด็กป่วย
โดยรวมและรายด้าน (ด้านกิจกรรมพยาบาล ด้านการแลกเปลี่ยนข้อมูล และด้านการตัดสินใจ) แตก
ต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ แต่ในด้านกิจกรรมที่ทำประจำนั้น ความต้องการมีส่วนร่วมและ
การได้มีส่วนร่วมของผู้ปกครองไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และอายุของเด็กป่วย
มีความสัมพันธ์ทางลบกับความต้องการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการดูแลเด็กป่วยขณะเข้ารับ
การรักษาในโรงพยาบาล ส่วนจำนวนปีที่ได้รับการศึกษาของผู้ปกครองและระยะเวลาที่ผู้ปกครองดูแล
เด็กป่วยต่อวันมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความต้องการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการดูแล
เด็กป่วยขณะเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ผลการวิจัยนี้เสนอแนะ
ว่าพยาบาลควรคำนึงถึงความต้องการและปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการมีส่วนร่วมในการดูแล
เด็กป่วยของผู้ปกครองแต่ละราย เพื่อสนับสนุนให้ผู้ปกครองได้มีส่วนร่วมในการดูแลเด็กป่วย
ขณะเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลอย่างเหมาะสมตามความต้องการ ซึ่งมีส่วนทำให้การพยาบาล
ผู้ป่วยเด็กเกิดประสิทธิภาพและมีคุณภาพมากขึ้น |
author2 |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี |
author_facet |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี แขนภา รัตนพิบูลย์ ชื่นฤดี คงศักดิ์ตระกูล อัจฉรียา ปทุมวัน Khaenapa Rattanapibun Chuanruedee Kongsaktrakul Autchareeya Patoomwan |
format |
Article |
author |
แขนภา รัตนพิบูลย์ ชื่นฤดี คงศักดิ์ตระกูล อัจฉรียา ปทุมวัน Khaenapa Rattanapibun Chuanruedee Kongsaktrakul Autchareeya Patoomwan |
author_sort |
แขนภา รัตนพิบูลย์ |
title |
การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการดูแลเด็กป่วยขณะเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล |
title_short |
การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการดูแลเด็กป่วยขณะเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล |
title_full |
การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการดูแลเด็กป่วยขณะเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล |
title_fullStr |
การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการดูแลเด็กป่วยขณะเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล |
title_full_unstemmed |
การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการดูแลเด็กป่วยขณะเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล |
title_sort |
การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการดูแลเด็กป่วยขณะเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล |
publishDate |
2020 |
url |
https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/48750 |
_version_ |
1763495109622497280 |
spelling |
th-mahidol.487502023-03-30T18:06:14Z การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการดูแลเด็กป่วยขณะเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล Parent Participation in the Care of Hospitalized Children แขนภา รัตนพิบูลย์ ชื่นฤดี คงศักดิ์ตระกูล อัจฉรียา ปทุมวัน Khaenapa Rattanapibun Chuanruedee Kongsaktrakul Autchareeya Patoomwan มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี ความต้องการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง การได้มีส่วนร่วมของผู้ปกครอง เด็กป่วยในโรงพยาบาล Preference parent participation Actual parent participation Hospitalized children การวิจัยเชิงบรรยายครั้งนี้เพื่อศึกษาความแตกต่างระหว่างความต้องการมีส่วนร่วม และการได้มีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการดูแลเด็กป่วยขณะเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล และความ สัมพันธ์ระหว่างอายุของผู้ปกครอง อายุของเด็กป่วย จeนวนปีที่ได้รับการศึกษาของผู้ปกครอง ระยะเวลาที่ผู้ปกครองดูแลเด็กป่วยต่อวัน จำนวนครั้งที่เด็กป่วยนอนโรงพยาบาล และการรับรู้ ความรุนแรงของโรคกับความต้องการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการดูแลเด็กป่วยขณะเข้ารับ การรักษาในโรงพยาบาล โดยใช้แนวคิดการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการดูแลเด็กป่วยของ เชปป์ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ปกครองของเด็กป่วยที่มีอายุตั้งแต่แรกเกิดถึง 18 ปี ที่เข้ารับการรักษา ในหอผู้ป่วยสามัญเด็ก โรงพยาบาลรามาธิบดี ระหว่างเดือนธันวาคม 2551 ถึงเดือนมีนาคม 2552 จำนวน 90 ราย ถูกคัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบบันทึกข้อมูล ส่วนบุคคลของเด็กป่วยและผู้ปกครอง แบบสอบถามความต้องการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการ ดูแลเด็กป่วย และแบบสอบถามการได้มีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการดูแลเด็กป่วย วิเคราะห์ ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย สถิติที สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และสหสัมพันธ์แบบสเปียร์แมน ผล การวิจัยพบว่าความต้องการมีส่วนร่วมและการได้มีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการดูแลเด็กป่วย โดยรวมและรายด้าน (ด้านกิจกรรมพยาบาล ด้านการแลกเปลี่ยนข้อมูล และด้านการตัดสินใจ) แตก ต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ แต่ในด้านกิจกรรมที่ทำประจำนั้น ความต้องการมีส่วนร่วมและ การได้มีส่วนร่วมของผู้ปกครองไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และอายุของเด็กป่วย มีความสัมพันธ์ทางลบกับความต้องการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการดูแลเด็กป่วยขณะเข้ารับ การรักษาในโรงพยาบาล ส่วนจำนวนปีที่ได้รับการศึกษาของผู้ปกครองและระยะเวลาที่ผู้ปกครองดูแล เด็กป่วยต่อวันมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความต้องการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการดูแล เด็กป่วยขณะเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ผลการวิจัยนี้เสนอแนะ ว่าพยาบาลควรคำนึงถึงความต้องการและปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการมีส่วนร่วมในการดูแล เด็กป่วยของผู้ปกครองแต่ละราย เพื่อสนับสนุนให้ผู้ปกครองได้มีส่วนร่วมในการดูแลเด็กป่วย ขณะเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลอย่างเหมาะสมตามความต้องการ ซึ่งมีส่วนทำให้การพยาบาล ผู้ป่วยเด็กเกิดประสิทธิภาพและมีคุณภาพมากขึ้น The purposes of this descriptive research were to compare the differences between preferred and actual parent participation in the care of hospitalized children, and to examine the relationship between the preferred parent participation in the care of hospitalized children and parents’ age, children’s age, parent’s year of education, duration of parental care per day, number of hospital admissions, and perceived disease severity. The concept of parent participation of Schepp was used to guide this study. The purposive sample was 90 parents of hospitalized newborn to children aged 18 years old who admitted to Pediatric Ward of Ramathibodi Hospital between December 2008 and March 2009. Data were collected by means of The Demographic Data Form, The Parental Preferred Participation Questionnaire and The Parental Actual Participation Questionnaire. Descriptive statistics, paired t-test, Pearson’s product moment correlation and Spearman’s rank correlation were employed in the data analysis. Results of the study showed that the preferred and actual parent participation in totally and dimensionally (technical care, information sharing and decision-making) were significantly different, but not significantly different between preferred and actual parent participation in routine care; and children’s age was negatively correlated with preferred parent participation in the care of hospitalized children, whereas parents’ year of education and duration of parental care per day was positively correlated with preferred parent participation in the care of hospitalized children with a statistical significance. Based on the study finding, it is recommended that nurses should be aware of preferred parent participation and factors related to their preferred participation taken into consideration so as to promote parents’ participation in the care of hospitalized children that satisfies their preference and to ensure quality and effectiveness of nursing care. 2020-01-08T07:05:07Z 2020-01-08T07:05:07Z 2563-01-08 2554 Research Article รามาธิบดีพยาบาลสาร. ปีที่ 17, ฉบับที่ 1 (พ.ค.-ส.ค. 2554), 232-247 0858-9739 (Print) 2672-9784 (Online) https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/48750 tha มหาวิทยาลัยมหิดล โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf |