ผลของการใช้รูปแบบบริการพยาบาลผ่าตัดตาที่เน้นการมีส่วนร่วมของบิดา มารดาต่อพฤติกรรมความร่วมมือของผู้ป่วยเด็กอายุ 1-6 ปี และความพึงพอใจของบิดามารดา
การวิจัยกึ่งทดลองครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของรูปแบบบริการพยาบาล ผ่าตัดตาที่เน้นการมีส่วนร่วมของบิดามารดาต่อพฤติกรรมความร่วมมือของผู้ป่วยเด็กอายุ 1-6 ปี และ ความพึงพอใจของบิดามารดา กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยเด็กอายุ 1-6 ปี ที่เข้ารับบริการผ่าตัดตาที่ ห้องผ่าตัดตา โรงพยาบาลรามาธิบดี ระหว่าง...
Saved in:
Main Authors: | , , , , , , , , , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Article |
Language: | Thai |
Published: |
2020
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/48751 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | Thai |
id |
th-mahidol.48751 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Mahidol University |
building |
Mahidol University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Mahidol University Library |
collection |
Mahidol University Institutional Repository |
language |
Thai |
topic |
การมีส่วนร่วมของบิดามารดา พฤติกรรมความร่วมมือของผู้ป่วยเด็ก ความพึงพอใจของบิดามารดา Parents’ participation Children patients’ cooperation behavior Parent satisfaction |
spellingShingle |
การมีส่วนร่วมของบิดามารดา พฤติกรรมความร่วมมือของผู้ป่วยเด็ก ความพึงพอใจของบิดามารดา Parents’ participation Children patients’ cooperation behavior Parent satisfaction พินิจ ปรีชานนท์ กีรติกานต์ ป้ายงูเหลือม เพียรจิตต์ ภูมิสิริกุล กษิรา สกุลรักชาติ อาภัสสร รัศมีเฟื่อง Pinit Prechanond Kieratikan Payngulume Pientjit Bhumisirikul Kasira Sakulrakchart Arpussorn Russameefeong ผลของการใช้รูปแบบบริการพยาบาลผ่าตัดตาที่เน้นการมีส่วนร่วมของบิดา มารดาต่อพฤติกรรมความร่วมมือของผู้ป่วยเด็กอายุ 1-6 ปี และความพึงพอใจของบิดามารดา |
description |
การวิจัยกึ่งทดลองครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของรูปแบบบริการพยาบาล
ผ่าตัดตาที่เน้นการมีส่วนร่วมของบิดามารดาต่อพฤติกรรมความร่วมมือของผู้ป่วยเด็กอายุ 1-6 ปี และ
ความพึงพอใจของบิดามารดา กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยเด็กอายุ 1-6 ปี ที่เข้ารับบริการผ่าตัดตาที่
ห้องผ่าตัดตา โรงพยาบาลรามาธิบดี ระหว่างเดือนมกราคม-กันยายน 2551 และบิดามารดา
จำนวน 60 คู่ แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 30 คู่ และกลุ่มควบคุม 30 คู่ กลุ่มทดลองได้รับบริการ
พยาบาลผ่าตัดตาที่เน้นการมีส่วนร่วมของบิดามารดา ส่วนกลุ่มควบคุมได้รับบริการพยาบาล
ตามปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง ได้แก่ คู่มือการพยาบาลผ่าตัดตาที่เน้นการมีส่วนร่วมของ
บิดามารดา คู่มือการดูแลบุตรผ่าตัดตาสำหรับบิดามารดา ภาพพลิก และกล่องของเล่น เครื่อง
มือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสังเกตพฤติกรรมความร่วมมือของผู้ป่วยเด็ก และ
แบบสอบถามความพึงพอใจของบิดามารดา เก็บข้อมูลในกลุ่มทดลองก่อน ระหว่างเดือนมกราคม-
เมษายน 2551 จากนั้นจึงเก็บข้อมูลในกลุ่มควบคุม ระหว่างเดือนพฤษภาคม-กันยายน 2551
วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติบรรยาย Mann-Whitney U test และ independent t-test ผลการวิจัยพบว่า
ผู้ป่วยเด็กกลุ่มที่ได้รับบริการพยาบาลผ่าตัดตาที่เน้นการมีส่วนร่วมของบิดามารดามีพฤติกรรม
ความร่วมมือมากกว่ากลุ่มที่ได้รับบริการพยาบาลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ทั้งเมื่อแยก
จากบิดามารดาขณะรอผ่าตัด และขณะนำสลบ ส่วนความพึงพอใจของบิดามารดาระหว่างกลุ่ม
ทดลองและกลุ่มควบคุมไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่า รูปแบบ
บริการพยาบาลผ่าตัดตาที่เน้นการมีส่วนร่วมของบิดามารดาช่วยส่งเสริมพฤติกรรมความร่วมมือ
ของผู้ป่วยเด็กที่เข้ารับบริการพยาบาลผ่าตัดตาได้ |
author2 |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี |
author_facet |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี พินิจ ปรีชานนท์ กีรติกานต์ ป้ายงูเหลือม เพียรจิตต์ ภูมิสิริกุล กษิรา สกุลรักชาติ อาภัสสร รัศมีเฟื่อง Pinit Prechanond Kieratikan Payngulume Pientjit Bhumisirikul Kasira Sakulrakchart Arpussorn Russameefeong |
format |
Article |
author |
พินิจ ปรีชานนท์ กีรติกานต์ ป้ายงูเหลือม เพียรจิตต์ ภูมิสิริกุล กษิรา สกุลรักชาติ อาภัสสร รัศมีเฟื่อง Pinit Prechanond Kieratikan Payngulume Pientjit Bhumisirikul Kasira Sakulrakchart Arpussorn Russameefeong |
author_sort |
พินิจ ปรีชานนท์ |
title |
ผลของการใช้รูปแบบบริการพยาบาลผ่าตัดตาที่เน้นการมีส่วนร่วมของบิดา มารดาต่อพฤติกรรมความร่วมมือของผู้ป่วยเด็กอายุ 1-6 ปี และความพึงพอใจของบิดามารดา |
title_short |
ผลของการใช้รูปแบบบริการพยาบาลผ่าตัดตาที่เน้นการมีส่วนร่วมของบิดา มารดาต่อพฤติกรรมความร่วมมือของผู้ป่วยเด็กอายุ 1-6 ปี และความพึงพอใจของบิดามารดา |
title_full |
ผลของการใช้รูปแบบบริการพยาบาลผ่าตัดตาที่เน้นการมีส่วนร่วมของบิดา มารดาต่อพฤติกรรมความร่วมมือของผู้ป่วยเด็กอายุ 1-6 ปี และความพึงพอใจของบิดามารดา |
title_fullStr |
ผลของการใช้รูปแบบบริการพยาบาลผ่าตัดตาที่เน้นการมีส่วนร่วมของบิดา มารดาต่อพฤติกรรมความร่วมมือของผู้ป่วยเด็กอายุ 1-6 ปี และความพึงพอใจของบิดามารดา |
title_full_unstemmed |
ผลของการใช้รูปแบบบริการพยาบาลผ่าตัดตาที่เน้นการมีส่วนร่วมของบิดา มารดาต่อพฤติกรรมความร่วมมือของผู้ป่วยเด็กอายุ 1-6 ปี และความพึงพอใจของบิดามารดา |
title_sort |
ผลของการใช้รูปแบบบริการพยาบาลผ่าตัดตาที่เน้นการมีส่วนร่วมของบิดา มารดาต่อพฤติกรรมความร่วมมือของผู้ป่วยเด็กอายุ 1-6 ปี และความพึงพอใจของบิดามารดา |
publishDate |
2020 |
url |
https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/48751 |
_version_ |
1763494421367619584 |
spelling |
th-mahidol.487512023-03-30T17:18:32Z ผลของการใช้รูปแบบบริการพยาบาลผ่าตัดตาที่เน้นการมีส่วนร่วมของบิดา มารดาต่อพฤติกรรมความร่วมมือของผู้ป่วยเด็กอายุ 1-6 ปี และความพึงพอใจของบิดามารดา Effects of Parents’ Participation Nursing Model on Patients’ Cooperation Behavior and Parent Satisfaction in Children Aged 1 to 6 Years Undergoing Eye Surgery พินิจ ปรีชานนท์ กีรติกานต์ ป้ายงูเหลือม เพียรจิตต์ ภูมิสิริกุล กษิรา สกุลรักชาติ อาภัสสร รัศมีเฟื่อง Pinit Prechanond Kieratikan Payngulume Pientjit Bhumisirikul Kasira Sakulrakchart Arpussorn Russameefeong มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ฝ่ายการพยาบาล. งานการพยาบาลผ่าตัด การมีส่วนร่วมของบิดามารดา พฤติกรรมความร่วมมือของผู้ป่วยเด็ก ความพึงพอใจของบิดามารดา Parents’ participation Children patients’ cooperation behavior Parent satisfaction การวิจัยกึ่งทดลองครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของรูปแบบบริการพยาบาล ผ่าตัดตาที่เน้นการมีส่วนร่วมของบิดามารดาต่อพฤติกรรมความร่วมมือของผู้ป่วยเด็กอายุ 1-6 ปี และ ความพึงพอใจของบิดามารดา กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยเด็กอายุ 1-6 ปี ที่เข้ารับบริการผ่าตัดตาที่ ห้องผ่าตัดตา โรงพยาบาลรามาธิบดี ระหว่างเดือนมกราคม-กันยายน 2551 และบิดามารดา จำนวน 60 คู่ แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 30 คู่ และกลุ่มควบคุม 30 คู่ กลุ่มทดลองได้รับบริการ พยาบาลผ่าตัดตาที่เน้นการมีส่วนร่วมของบิดามารดา ส่วนกลุ่มควบคุมได้รับบริการพยาบาล ตามปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง ได้แก่ คู่มือการพยาบาลผ่าตัดตาที่เน้นการมีส่วนร่วมของ บิดามารดา คู่มือการดูแลบุตรผ่าตัดตาสำหรับบิดามารดา ภาพพลิก และกล่องของเล่น เครื่อง มือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสังเกตพฤติกรรมความร่วมมือของผู้ป่วยเด็ก และ แบบสอบถามความพึงพอใจของบิดามารดา เก็บข้อมูลในกลุ่มทดลองก่อน ระหว่างเดือนมกราคม- เมษายน 2551 จากนั้นจึงเก็บข้อมูลในกลุ่มควบคุม ระหว่างเดือนพฤษภาคม-กันยายน 2551 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติบรรยาย Mann-Whitney U test และ independent t-test ผลการวิจัยพบว่า ผู้ป่วยเด็กกลุ่มที่ได้รับบริการพยาบาลผ่าตัดตาที่เน้นการมีส่วนร่วมของบิดามารดามีพฤติกรรม ความร่วมมือมากกว่ากลุ่มที่ได้รับบริการพยาบาลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ทั้งเมื่อแยก จากบิดามารดาขณะรอผ่าตัด และขณะนำสลบ ส่วนความพึงพอใจของบิดามารดาระหว่างกลุ่ม ทดลองและกลุ่มควบคุมไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่า รูปแบบ บริการพยาบาลผ่าตัดตาที่เน้นการมีส่วนร่วมของบิดามารดาช่วยส่งเสริมพฤติกรรมความร่วมมือ ของผู้ป่วยเด็กที่เข้ารับบริการพยาบาลผ่าตัดตาได้ The objective of this quasi-experimental research was to examine the effects of the parents’ participation nursing model on patients’ cooperation behavior in children aged 1 to 6 years undergoing eye surgery and parent satisfaction. Purposive sampling was used to recruit 60 patients aged 1 to 6 years undergoing eyes surgery and their parents by inclusion criteria from Eye Operating Room, Ramathibodi Hospital during January to September, 2008. The sample was divided equally into the intervention group and the convention group. the intervention group was given the Parents’ Participation Nursing Model, whereas the convention group received usual nursing care. The intervention instruments were the Parents’ Participation Perioperative Nursing Manual, Care of the Children Undergoing Eye Surgery Parents’ Manual, Introduction of Operating Room Flip Chart, and the Box of Medical Play. Data were collected using the Patients’ Cooperation Behavior Observation Form and the Parent Satisfaction Questionnaire in the intervention group during January to April, 2008 and in the convention group during May to September, 2008. Data were analyzed using descriptive statistics, Mann-Whitney U test, and independent t-test. The study revealed that children patients in the intervention group who received the parents’ participation nursing care had significantly more cooperation behavior than those who received usual nursing care while separated from parents and during anesthesia induction, and parent satisfaction was not significantly different between the intervention and the conventional groups. The finding suggests that the parents’ participation nursing model should be used to promote children patients’ cooperation behavior in children patients undergoing eye surgery. 2020-01-08T07:39:38Z 2020-01-08T07:39:38Z 2563-01-08 2554 Research Article รามาธิบดีพยาบาลสาร. ปีที่ 17, ฉบับที่ 2 (พ.ค.-ส.ค. 2554), 248-263 0858-9739 (Print) 2672-9784 (Online) https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/48751 tha มหาวิทยาลัยมหิดล โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล งานการพยาบาลผ่าตัด ฝ่ายการพยาบาล คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf |