การพัฒนาตัวบ่งชี้คุณธรรมจริยธรรมสำหรับนักศึกษาพยาบาล

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาตัวบ่งชี้คุณธรรมจริยธรรมสำหรับนักศึกษา พยาบาล 2) ตรวจสอบคุณภาพของตัวบ่งชี้ที่พัฒนาขึ้นในด้านความเที่ยง และความตรงเชิงโครงสร้าง และ3) สำรวจสภาพคุณธรรมจริยธรรมของนักศึกษาพยาบาลตามตัวบ่งชี้ที่พัฒนาขึ้น ประชากร ตัวอย่างเป็นนักศึกษาพยาบาลรามาธิบดีชั้นปีที่ 1, 2,...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: พิศสมัย อรทัย, เพชรรัตน์ เกิดดอนแฝก, Pisamai Orathai, Petcharat Kerdonfag
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาพยาบาลศาสตร์. สาขาวิชาการพยาบาลพื้นฐาน
Format: Article
Language:Thai
Published: 2020
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/52432
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.52432
record_format dspace
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic ตัวบ่งชี้คุณธรรมจริยธรรม
ความรับผิดชอบเชิงวิชาชีพ
ความเอื้ออาทร
นักศึกษาพยาบาล
ความตรงเชิงโครงสร้าง
Moral virtue indicators
Professional responsibility
Caring, Nursing students
Construct validity
spellingShingle ตัวบ่งชี้คุณธรรมจริยธรรม
ความรับผิดชอบเชิงวิชาชีพ
ความเอื้ออาทร
นักศึกษาพยาบาล
ความตรงเชิงโครงสร้าง
Moral virtue indicators
Professional responsibility
Caring, Nursing students
Construct validity
พิศสมัย อรทัย
เพชรรัตน์ เกิดดอนแฝก
Pisamai Orathai
Petcharat Kerdonfag
การพัฒนาตัวบ่งชี้คุณธรรมจริยธรรมสำหรับนักศึกษาพยาบาล
description งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาตัวบ่งชี้คุณธรรมจริยธรรมสำหรับนักศึกษา พยาบาล 2) ตรวจสอบคุณภาพของตัวบ่งชี้ที่พัฒนาขึ้นในด้านความเที่ยง และความตรงเชิงโครงสร้าง และ3) สำรวจสภาพคุณธรรมจริยธรรมของนักศึกษาพยาบาลตามตัวบ่งชี้ที่พัฒนาขึ้น ประชากร ตัวอย่างเป็นนักศึกษาพยาบาลรามาธิบดีชั้นปีที่ 1, 2, 3, และ 4 ปีการศึกษา 2551 จำนวน 767 คน เก็บรวบรวมข้อมูล 2 ครั้ง โดยใช้แบบสอบถามคุณธรรมจริยธรรมสำหรับนักศึกษาพยาบาล เว้นระยะห่าง 3 สัปดาห์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย การวิเคราะห์ความเที่ยงแบบวัดซ้ำ และค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค ด้วยโปรแกรม SPSS การวิเคราะห์ความตรงและความเที่ยง เชิงโครงสร้าง ด้วยโปรแกรมลิสเรล ผลการวิจัยที่สำคัญพบว่า ความเที่ยงแบบวัดซ้ำของแบบสอบถาม มีค่าค่อนข้างสูง ค่าสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาคของตัวบ่งชี้ส่วนใหญ่มีค่าสูง ยกเว้นความ ซื่อสัตย์สุจริตและความมีวินัย โมเดลการวัดคุณธรรมจริยธรรมมีความตรงเชิงโครงสร้าง โดยมี ความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ดี ค่าน้ำหนักองค์ประกอบของทุกตัวบ่งชี้มีนัยสำคัญ ทางสถิติ ตัวบ่งชี้ที่มีน้ำหนักความสำคัญมากที่สุดคือ ความรับผิดชอบเชิงวิชาชีพ รองลงมาคือ ความเอื้ออาทร ความร่วมมือ ความยุติธรรม ความมีกาลเทศะ ความเมตตากรุณา ความอดทน ความซื่อสัตย์สุจริต ความมีวินัย และความตรงต่อเวลา ตามลำดับ ความเที่ยงเชิงโครงสร้างของ ทุกตัวบ่งชี้มีค่าปานกลางถึงสูง ผลการสำรวจสภาพคุณธรรมจริยธรรมของนักศึกษาพยาบาลพบว่า นักศึกษารับรู้ว่าตนเองมีคุณธรรมจริยธรรมทุกด้านอยู่ในระดับสูง อย่างไรก็ตาม นักศึกษาประเมิน ตนเองว่า มีความอดทนต่ำสุด ในขณะที่มีความซื่อสัตย์สุจริตสูงสุด ผลการศึกษาครั้งนี้มีข้อเสนอแนะ ในการนำตัวบ่งชี้คุณธรรมจริยธรรมไปใช้กำหนดกลยุทธ์ในการประเมิน และศึกษาแนวโน้มการ เปลี่ยนแปลงระดับคุณธรรมจริยธรรมของนักศึกษาพยาบาล
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาพยาบาลศาสตร์. สาขาวิชาการพยาบาลพื้นฐาน
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาพยาบาลศาสตร์. สาขาวิชาการพยาบาลพื้นฐาน
พิศสมัย อรทัย
เพชรรัตน์ เกิดดอนแฝก
Pisamai Orathai
Petcharat Kerdonfag
format Article
author พิศสมัย อรทัย
เพชรรัตน์ เกิดดอนแฝก
Pisamai Orathai
Petcharat Kerdonfag
author_sort พิศสมัย อรทัย
title การพัฒนาตัวบ่งชี้คุณธรรมจริยธรรมสำหรับนักศึกษาพยาบาล
title_short การพัฒนาตัวบ่งชี้คุณธรรมจริยธรรมสำหรับนักศึกษาพยาบาล
title_full การพัฒนาตัวบ่งชี้คุณธรรมจริยธรรมสำหรับนักศึกษาพยาบาล
title_fullStr การพัฒนาตัวบ่งชี้คุณธรรมจริยธรรมสำหรับนักศึกษาพยาบาล
title_full_unstemmed การพัฒนาตัวบ่งชี้คุณธรรมจริยธรรมสำหรับนักศึกษาพยาบาล
title_sort การพัฒนาตัวบ่งชี้คุณธรรมจริยธรรมสำหรับนักศึกษาพยาบาล
publishDate 2020
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/52432
_version_ 1763494378317283328
spelling th-mahidol.524322023-03-30T20:32:11Z การพัฒนาตัวบ่งชี้คุณธรรมจริยธรรมสำหรับนักศึกษาพยาบาล Development of the Moral Virtue Indicators for Nursing Students พิศสมัย อรทัย เพชรรัตน์ เกิดดอนแฝก Pisamai Orathai Petcharat Kerdonfag มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาพยาบาลศาสตร์. สาขาวิชาการพยาบาลพื้นฐาน มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาพยาบาลศาสตร์. สาขาวิชาการพยาบาลสุขภาพชุมชน ตัวบ่งชี้คุณธรรมจริยธรรม ความรับผิดชอบเชิงวิชาชีพ ความเอื้ออาทร นักศึกษาพยาบาล ความตรงเชิงโครงสร้าง Moral virtue indicators Professional responsibility Caring, Nursing students Construct validity งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาตัวบ่งชี้คุณธรรมจริยธรรมสำหรับนักศึกษา พยาบาล 2) ตรวจสอบคุณภาพของตัวบ่งชี้ที่พัฒนาขึ้นในด้านความเที่ยง และความตรงเชิงโครงสร้าง และ3) สำรวจสภาพคุณธรรมจริยธรรมของนักศึกษาพยาบาลตามตัวบ่งชี้ที่พัฒนาขึ้น ประชากร ตัวอย่างเป็นนักศึกษาพยาบาลรามาธิบดีชั้นปีที่ 1, 2, 3, และ 4 ปีการศึกษา 2551 จำนวน 767 คน เก็บรวบรวมข้อมูล 2 ครั้ง โดยใช้แบบสอบถามคุณธรรมจริยธรรมสำหรับนักศึกษาพยาบาล เว้นระยะห่าง 3 สัปดาห์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย การวิเคราะห์ความเที่ยงแบบวัดซ้ำ และค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค ด้วยโปรแกรม SPSS การวิเคราะห์ความตรงและความเที่ยง เชิงโครงสร้าง ด้วยโปรแกรมลิสเรล ผลการวิจัยที่สำคัญพบว่า ความเที่ยงแบบวัดซ้ำของแบบสอบถาม มีค่าค่อนข้างสูง ค่าสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาคของตัวบ่งชี้ส่วนใหญ่มีค่าสูง ยกเว้นความ ซื่อสัตย์สุจริตและความมีวินัย โมเดลการวัดคุณธรรมจริยธรรมมีความตรงเชิงโครงสร้าง โดยมี ความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ดี ค่าน้ำหนักองค์ประกอบของทุกตัวบ่งชี้มีนัยสำคัญ ทางสถิติ ตัวบ่งชี้ที่มีน้ำหนักความสำคัญมากที่สุดคือ ความรับผิดชอบเชิงวิชาชีพ รองลงมาคือ ความเอื้ออาทร ความร่วมมือ ความยุติธรรม ความมีกาลเทศะ ความเมตตากรุณา ความอดทน ความซื่อสัตย์สุจริต ความมีวินัย และความตรงต่อเวลา ตามลำดับ ความเที่ยงเชิงโครงสร้างของ ทุกตัวบ่งชี้มีค่าปานกลางถึงสูง ผลการสำรวจสภาพคุณธรรมจริยธรรมของนักศึกษาพยาบาลพบว่า นักศึกษารับรู้ว่าตนเองมีคุณธรรมจริยธรรมทุกด้านอยู่ในระดับสูง อย่างไรก็ตาม นักศึกษาประเมิน ตนเองว่า มีความอดทนต่ำสุด ในขณะที่มีความซื่อสัตย์สุจริตสูงสุด ผลการศึกษาครั้งนี้มีข้อเสนอแนะ ในการนำตัวบ่งชี้คุณธรรมจริยธรรมไปใช้กำหนดกลยุทธ์ในการประเมิน และศึกษาแนวโน้มการ เปลี่ยนแปลงระดับคุณธรรมจริยธรรมของนักศึกษาพยาบาล The purposes of this research were 1) to develop the moral virtue indicators for nursing students, 2) to examine the reliability and construct validity of the developed indicators, and 3) to survey the state of moral virtue of nursing students following the developed indicators. The accessible population was 767 first-year, second-year, third-year, and fourth-year Ramathibodi nursing students in the academic year 2008. Data were collected twice with a 3-week interval using the Nursing Students Moral Virtue Questionnaire. Data analyses used descriptive statistics, test-retest reliability, Cronbach’s alpha coefficients using the SPSS program. Construct validity and construct reliability were analyzed using the LISREL program. The major findings revealed that test-retest reliability of the Nursing Students Moral Virtue Questionnaire was in a rather high level. Almost all of the moral virtue indicators provide Cronbach’s alpha coefficients in a high level, excepting the fidelity and discipline. The measurement model of moral virtue had a construct validity and fitted nicely to the empirical data. All factor loadings were statistical significance. The most important indicator was professional responsibility followed by caring, cooperation, justice, propriety, kindness, patience, fidelity, discipline, and punctuality. The construct reliability of ten indicators varied from moderate to high. The state of moral virtue of nursing students showed that the moral virtue was perceived by students in a high level. However, patience was perceived as the lowest level, whereas honesty was perceived as the highest level. The present findings provide valid and reliable moral virtue indicators and support for the use of indicators for establishing evaluation strategies and studying the trend of change in the level of moral virtue of nursing students. 2020-02-18T03:24:26Z 2020-02-18T03:24:26Z 2563-02-18 2553 Article รามาธิบดีพยาบาลสาร. ปีที่ 16, ฉบับที่ 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2553), 350-363 0858-9739 (Print) 2672-9784 (Online) https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/52432 tha มหาวิทยาลัยมหิดล สาขาวิชาการพยาบาลพื้นฐาน ภาควิชาพยาบาลศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล สาขาวิชาการพยาบาลสุขภาพชุมชน ภาควิชาพยาบาลศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf